ปัจจัยแห่งความสำเร็จพหุระดับ ในการบริหารวิชาการของโรงเรียนมาตรฐานสากล

Main Article Content

นิธิวัฒน์ อินทสิทธิ์
โกศล มีคุณ

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์นำเสนอแนวทางการศึกษาปัจจัยแห่งความสำเร็จพหุระดับในการบริหารวิชาการของโรงเรียนมาตรฐานสากล การบริหารวิชาการเป็นกลไกสำคัญของการบริหารโรงเรียนมาตรฐานสากล ความสำเร็จของการบริหารวิชาการพิจารณาได้ 3 ระดับ  ได้แก่ 1)ระดับนักเรียน  2)ระดับห้องเรียน และ 3)ระดับโรงเรียน ความสำเร็จแต่ละระดับมีปัจจัยที่เกี่ยวข้องจัดได้เป็น 2 กลุ่ม  ประกอบด้วย กลุ่มปัจจัยการบริหารวิชาการ และ กลุ่มปัจจัยเสริมในตัวบุคคล จากการประมวลเอกสารจึงได้สาระสำคัญของปัจจัยในแต่ละกลุ่ม และ แต่ละระดับ ทำให้สามารถกำหนดกรอบแนวคิดของการวิจัยได้   ซึ่งเมื่อได้ผลวิจัยแล้ว องค์ความรู้ที่ได้สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนา  กำหนดนโยบาย  หรือการวิจัยพัฒนาต่อยอดได้

Article Details

บท
Academic Article
Author Biography

โกศล มีคุณ, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา

หลักสูตรการศึกษาดุษฎีบัณฑิต  สาขาวิชาการบริหารการศึกษา  มหาวิทยาลัยพะเยา

Doctor of Philosophy  Program in Educational Administration  University of Phayao

References

กาญจนา ทวีพันธ์. (2556).การศึกษาสภาพกิจกรรมส่งเสริมงานวิชาการตามความคิดเห็นของคณะกรรมการสถานศึกษา
ขั้นพื้นฐานของกลุ่มเครือข่ายโรงเรียนหนองกระโดนสามัคคีพัฒนาสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 1. วิทยานิพนธ์ ค.ม.,มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์, นครสวรรค์.
กิตติรัตน์ ชัยรัตน์. (2547). ประสบการณ์ในการเข้าค่ายวิทยาศาสตร์และลักษณะทางจิตใจของนักเรียน
มัธยมศึกษาตอนต้นที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการเรียนสาระวิทยาศาสตร์. วิทยานิพนธ์ วท.ม., มหาวิทยาลัยนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ.
จรรยา ธนะนิมิตร. (2555). กิจกรรมห้องเรียนคุณภาพ. กรุงเทพฯ : โรงเรียนสันติราษฎร์วิทยาลัย.
จันทรานี สงวนนาม. (2545).ทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหารสถานศึกษา.กรุงเทพฯ : บุ๊คพอยท์.
จิราพร เซ็นหอม. (2562). รูปแบบการพัฒนาเพื่อเสริมสร้างการพึ่งตนเองของนักศึกษาการศึกษานอกระบบใน
กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ กศ.ด., มหาวิทยาลัยพะเยา, พะเยา.
จิราภรณ์ พาน้อย และกรรณิการ์ ภิรมย์รัตน์. (2558). การศึกษาทัศนคติของนักเรียนโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราช
ภัฏสวนสุนันทา(มัธยมศึกษาชั้นปีที่ 1-3) ที่มีต่อรูปแบบการจัดการเรียนการสอนสาระสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม. วิทยานิพนธ์ กศ.ม., มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, กรุงเทพฯ.
จีรพัฒน์ ศิริรักษ์. (2555). ลักษณะสถานการณ์ในโรงเรียน ครอบครัว และจิตพอเพียงที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมระบบ
ผิดชอบของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น. วิทยานิพนธ์ วท.ม., มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ.
โชดก ปัญญาวรานันท์ และปองสิน วิเศษศิริ. (2558). การพัฒนานโยบายการบริหารงานวิชาการที่ส่งผล
ทางบวกต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนในสถานศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม., มหาวิทยาลัย อีสเทิร์นเอเชีย, กรุงเทพฯ.
ดวงเดือน พันธุมนาวิน.(2544).ทฤษฎีต้นไม้จริยธรรม:การวิจัยและการพัฒนาบุคคล.(พิมพ์ครั้งที่ 2).กรุงเทพฯ :
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ดุจเดือน พันธุมนาวิน. (2550). รายงานการ สังเคราะหงานวิจัยเกี่ยวกับคุณธรรมจริยธรรมในประเทศไทยและต่างประเทศ.
ทุนอุดหนุนจากศูนยสงเสริมและพัฒนาพลังแผนดินเชิงคุณธรรมสำนักงานบริหารและ พัฒนาองคความรู(องคกร
มหาชน).
________. (2552). ความเชื่ออำนาจในตน:การวัดความสำคัญและการเปลี่ยนแปลง. วารสารพัฒนาสังคม 11: 107-141.
ตระการ แสนแก้ว. (2551). การพัฒนาแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรครูของโรงเรียนอัสสัมชัญ
นครราชสีมา. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม., มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, มหาสารคาม.
ทรงยศ แก้วมงคล. (2555). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนประถมศึกษา
สังกัดกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ ศษ.ด., หาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,กรุงเทพฯ.
นารินทร์ เดชสะท้าน. (2557). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ์ เขต 3. วิทยานิพนธ์. ค.ม., มหาวิทยาลัยราชภัฏกาฬสินธุ์, กาฬสินธุ์.
บุญส่ง พุทธรักษ์พงศ์. (2545). การบริหารงานวิชาการเพื่อพัฒนาคุณภาพการสอนในโรงเรียนประถมศึกษาสังกัด
สำนักงานการประถมศึกษา อำเภออ่าวลึก จังหวัดกระบี่. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม., มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ.
ประกอบ กุฏโพธิ์. (2545).การศึกษาสภาพและปัญหาของการบริหารงานวิชาการเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนที่
เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ตามทัศนะของผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนสังกัด สำนักงานการประถมศึกษา จังหวัดนครราชสีมา.วิทยานิพนธ์ ค.ม.,สถาบันราชภัฏนครราชสีมา, นครราชสีมา.
ปรีชา โสภาเคนและคณะ. (2557).การบริหารจัดการเรียนรู้โดยใช้โทรทัศน์เพื่อการศึกษาโรงเรียนบ้านถ้ำผาลาด
อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา. วิทยานิพนธ์ ค.ม., มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, เชียงราย.
ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2547). จิตวิทยาการบริหารงานบุคคล. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : พิมพ์ดีจำกัด.
ผ่องพรรณ เจริญพงศ์. (2557). ทัศนคติที่มีต่อวิชาบัญชีเบื้องต้น 1 ของนักเรียนระดับชั้น ปวช.1 ห้อง 1 แผนก
วิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคนิคทุ่งสง อำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช. วิทยาลัยเทคนิคทุ่งสง, นครศรีธรรมราช.
พอเจตน์ ธรรมศิริขวัญ. (2552). การพัฒนาหลักสูตรบูรณาการกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
เพื่อเสริมสร้างพฤติกรรมเชิงจริยธรรมของนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 2. วิทยานิพนธ์ กศ.ด., มหาวิทยาลัย
บูรพา, ชลบุรี.
พาสนา ชลบุรพันธ์. (2560). รูปแบบการนิเทศการสอนเพื่อส่งเสริมทักษะการคิดระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
วิทยานิพนธ์ กศ.ด., มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์, กรุงเทพฯ.
พิชญาพรรณ พากเพียร. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมความเป็นผู้นำทางวิชาการของบริหารกับพฤติกรรม
การสอนของครูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 37. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม., หาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, นนทบุรี.
พิทักษ์ อุดมชัย. (2552). หน้าที่ทางการบริหารที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในสังกัดสำนักงานเขต
พื้นที่การศึกษาขอนแก่น เขต 5. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
เย็นตะวัน แสงวิเศษ.(2553).แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาสังกัด อาชีวศึกษาจังหวัดสุราษฎร์ธานี. วิทยานิพนธ์ บช.ม., มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี, สุราษฎร์ธานี.
รสนันท์ ณ นคร. (2550). ปัจจัยเชิงเหตุแบบบูรณาการทางจิตลักษณะและสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการ
ออมเงินของนักเรียนระดับมัธยมต้นที่มีธนาคารในโรงเรียน. วิทยานิพนธ์ ศศ.ม., สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, กรุงเทพฯ.
เลิศณรงค์ พูนเกิดมะเริง. (2546). การศึกษากระบวนการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนในโครงการ
โรงเรียนปฏิรูปการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียน สังกัดสำนักงานการประถมศึกษา จังหวัดนครราชสีมา. วิทยานิพนธ์ ค.ม., สถาบันราชภัฏนครราชสีมา, นครราชสีมา.

วาสนา ใจแสวงทรัพย์. (2554). การนิเทศงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนเอกชนระดับประถมศึกษาเขตการศึกษา 5.
วิทยานิพนธ์ ศษ.ม., มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, นนทบุรี.
วิบูลย์ พาสี. (2546). ความสัมพันธ์ระหว่างความเชื่ออำนาจในตน ลักษณะมุ่งอนาคตและควบคุมตนกับพฤติกรรมการ
ปฏิบัติงานตามมาตรฐานการประกันคุณภาพการศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานด้านกระบวนการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาขอนแก่น เขต 1-5. วิทยานิพนธ์ ค.ม., สถาบันราชภัฏเลย, เลย.
วิลัยพรณ์ เสรีวัฒน์. (2555). การประเมินเชิงระบบโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล. วิทยานิพนธ์ ปร.ด.,
มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น.
ศักดิ์คเรศ ประกอบผล. (2539). การศึกษาสภาพแวดล้อมทางการเรียนในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดคณะกรรมการ
การประถมศึกษาแห่งชาติ เขตภาคกลาง. สารนิพนธ์ กศ.ม., มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, กรงเทพฯ.
ศศิพร รินทะ. (2554). การบริหารจัดการศึกษาโรงเรียนในโครงการมาตรฐานสากล:กรณีศึกษาโรงเรียนเมืองคง
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 31. วิทยานิพนธ์ ปร.ด., มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น.
ศิวชาติ แสงทอง.(2555).การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการมีส่วนร่วมในการพัฒนาบุคลากรกับความผูกพันต่อ
โรงเรียนของครูโรงเรียนคาทอลิก สังกัดอัครสังฆมณฑลกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ ค.ม., มหาวิทยาลัย
ราชภัฏพระนครศรีอยุธยา,พระนครศรีอยุธยา.
ศุภวรรณ พันธุ์ภักดี. (2542). ตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนิสิตแพทย์คณะแพทยศาสตร์
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. วิทยานิพนธ์ กศ.ม., มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ.
สจีวรรณ ทรรพวสุและไสว ศิริทองถาวร. (2555).การพัฒนากระบวนการบริหารงานวิชาการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
ด้านการจัดการคุณภาพ. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
สมเกียรติ บาลลา. (2554). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อองค์การแห่งการเรียนรู้
ของสถานศึกษา อำเภอเมืองปทุมธานี สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ปทุมธานีเขต 1.
วิทยานิพนธ์ ศษ.ม., มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, ปทุมธานี.
สมบัติ โล่ทอง. (2549). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความเชื่อมั่นในตนเองกับพฤติกรรมการตัดสินใจในการ
บริหารงานวิชาการโดยให้ครูมีส่วนร่วมของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา พระนครศรีอยุธยาเขต 1 และเขต 2. วิทยานิพนธ์ ค.ม., มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา, พระนครศรีอยุธยา.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2553). แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล. กรุงเทพฯ :
ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2554). แนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐาน. การศึกษาขั้น
พื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2545). แนวทางการวัดผลประเมินผลในชั้นเรียนกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544.กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัศดุภัณฑ์(ร.ส.พ.).
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12
พ.ศ. 2560-2564. สืบค้นวันที่ 16 พฤศจิกายน 2561, https://www.nesdb.go.th/ewt_dl_link.php?nid=6422.
วันที่ 16 พฤศจิกายน 2561.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.(2560).แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579. กรุงเทพฯ:พริกหวาน
กราฟฟิค.
สำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ. (2561). “ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ.2561 – 2580),” ราชกิจจา
นุเบกษา.เล่ม 135 ตอนที่ 82ก 13 ตุลาคม 2561. กรุงเทพฯ :สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ.
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย. (2555). แนวทางการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนมาตรฐานสากล.
กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.
สิทธิชัย ชมพูพาทย์. (2554). การพัฒนาพฤติกรรมการเรียนการสอนเพื่อการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์
ของครูและนักเรียนในโรงเรียนส่งเสริมนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์โดย
ใช้การวิจัยปฏิบัติการเชิงวิพากษ์. วิทยานิพนธ์ วท.ด., มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ.
สิริพร บุญพา. (2562). รูปแบบการบริหารการพัฒนาเพื่อเสริมสร้างความพอเพียงของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น
ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ กศ.ด., มหาวิทยาลัยพะเยา, พะเยา.
สุขุม มูลเมือง. (2539). ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น:การวิเคราะห์รูปแบบ
ความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงเส้น. วิทยานิพนธ์นิพนธ์ ศศ.ด., มหาวิทยาลัยศิลปากร, กรุงเทพฯ.
สุนันทา เจริญจิตรโสภณ. (2559). การบริหารสถานศึกษาโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อโรงเรียน
ของครูสังกัดสำนักงานเขตหนองจอกกรุงเทพมหานคร. วารสารชุมชนวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ปีที่ : 10 ฉบับที่ : 2 เลขหน้า : 125-13.
สุภาสินี นุ่มเนียน. (2546). ปัจจัยทางสภาพแวดล้อมและจิตลักษณะ ที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมรับผิดชอบต่อหน้าที่
ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น. วิทยานิพนธ์ ศศม., สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, กรุงเทพฯ.
สุมาลี เมืองนก. (2548). ความต้องการการสนับสนุนจากผู้บริหารในการพัฒนาการเรียนการสอนตามแนวปฏิรูป
การศึกษาของครูในอำเภอท่ายาง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเพชรบุรี เขต 2. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม., มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. กรุงเทพฯ.
สุรชัย ภัทรากิจ. (2548). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ในการกำหนดนโยบายและแผนพัฒนา
โรงเรียนของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาสระบุรี. วิทยานิพนธ์ ค.ม.,มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา, พระนครศรีอยุธยา.
สุวัฒน์ วิวัฒนานนท์. (2548). ปัจจัยเชิงพหุระดับที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของโรงเรียนมัธยมศึกษาของรัฐในกรุงเทพ
มหานคร. วิทยานิพนธ์ ศษ.ด., มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล, นครราชสีมา.
เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์. (2525). พฤติกรรมผู้นำทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ :ไทยวัฒนาพานิช.
เอมอร งามธรรมนิตย์.(2546). ความเครียดในการปฏิบัติงานและความเชื่ออำนาจภายในภายนอกตนกับ
ความสามารถในการปฏิบัติงานของพยาบาลโรงพยาบาลศิริราช. วิทยานิพนธ์ วท.ม., มหาวิทยาลัยศรี
นครินทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ.
Bass B. M. (1999). Two decades of research and development in transformational leadership.
European Journal of Work and Organizational Psychology.
Gibson, J. L. (2000). Organizations Behavior(7th ed). Boston : Irwin.
Hanson M. E. (1996). Educational Administration and Organizational Behavior(4th ed.).Boston : Ally
and Bacon.
Hoy, Wayne K. & Miskel, Cecil G. (1996). Educational Administration : Theory, Research, and
Practice.(5th ed). Newyork : McGraw-Hill.
Magnusson, D, & Endler, N.S. (1977). Personality at the crossroads : Current Issues in Interactionism
psychology. NewJesy : LEA Publishers.
McCurtain, B. R. (1989). Elementary School Principal Competencies and School Effectiveness :
Instructional Staff Perceptions. Dissertation Abstracts Instructional. 43 (5) : 1092-1097.
Sergiovanni, Thomas J. (1984). Handbook for Effective Department Leadership. Massachusetts :
Allyn and Bacon, Inc.
Sheive, L. T., &Schoenheil, M. B. (1987). Leadership: Examining the elusive. Virginia : ASCD.
Williams, Marion; & Burden Robert L. (1988). Psychology for Language Teachers: a Social
Constructivist Approach. Cambridge : Cambridge University Press.