การบูรณาการหลักสุริสธรรม 7 ประการเพื่อขับเคลื่อนความเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย

Main Article Content

ดร.ชนาธิป ศรีโท
พระครูพิสุทธิธรรมาภรณ์
พระมหาชัชวาล จารย์คุณ
ชุลีพร นาหัวนิล

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการบูรณาการหลักสัปปุริสธรรมเพื่อขับเคลื่อนความเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตย ผลการศึกษา พบว่า หลักสัปปุริสธรรม 7 ประการ ซึ่งเป็นธรรมของคนดี การรู้หลักและรู้จักเหตุ เป็นการรู้กฎเกณฑ์ของสิ่งทั้งหลาย รู้หน้าที่ของตนเอง อันจะทำให้ปฏิบัติงานตรงตามหน้าที่ มีความสำนึกรับผิดชอบ ความมุ่งหมายและรู้จักผล เข้าใจวัตถุประสงค์ของงานที่ทำ ทำให้ทำงานแล้วเกิดผลสัมฤทธิ์ ก่อให้เกิดประสิทธิผล รู้ตน รู้จักตนเอง ว่าโดยฐานะ เพศ กำลัง ความรู้ ความสามารถ เป็นอย่างไร และทำการต่างๆให้สอดคล้อง รู้ประมาณ รู้จักพอดี รู้กาล รู้กาลเวลาที่เหมาะสม ระยะเวลาที่พึงใช้ในการประกอบกิจ หน้าที่การงาน รู้ว่าเวลาไหนควรทำอะไร อย่างไร วางแผนการใช้เวลา เป็นการทำงานอย่างมีมีคุณค่า คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมเป็นที่ตั้ง แนวทางแห่งการขับเคลื่อนความเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตยให้มีความเข้มแข็งมากยิ่งขึ้น ส่งผลให้การปกครองในระบอบประชาธิปไตยมีความมั่นคง ประชาชนมีสิทธิเสรีภาพอย่างเสมอภาค

Article Details

บท
Academic Article
Author Biographies

พระครูพิสุทธิธรรมาภรณ์, มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน

พระมหาชัชวาล จารย์คุณ , สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ชุลีพร นาหัวนิล, มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน

References

แก้ว ชิดตะขบ. (2554).หลักสัปปุริสธรรม 7. นิตยสารธรรมลีลา สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ.
ฉบับที่ 131 ตุลาคม 2554.
พระธรรมปิฎก(ป.อ. ปยุตโต). (2541). ธรรมนูญชีวิต, กรุงเทพฯ: บริษัท สหธรรมมิก จำกัด
พระครูวินัยธรจักรี ศรีจารุเมธีญาณ. (2556X. พระสงฆ์กับการบริหารและพัฒนาองค์กร. เอกสารอัด
สำเนา.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2546X. พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. กรุงเทพฯ:
บริษัท สหธรรมมิก
พระมหาสมควร สีสงคราม. (2550). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสัปปุริสธรรมและพละธรรมกับ
การการศึกษาความสัมพันธ์ระหวางสัปปุริสธรรมและพละธรรมกับการปฏิบัติงานของ
ผู้บริหารสถานศึกษา กลุมเขตกรุงธนใต สังกัดกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษาบัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยศรี นครินทรวิโรฒ.
ภาส ภาสศรัทธา (2557). การบูรณาการหลักพุทธธรรมเพื่อความโปร่งใสในการบริหารจัดการของ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสน
ศาสตร์. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการและมูลนิธิสถาบันวิจัยกฎหมาย. 2546. พระราช
กฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546
Boutros-Ghali, Boutros. (2000). “An Agenda for Democratization,” in Global Democracy,
Barry Holden (ed), New York: Routledage,.
Dahl, Robert A. (2000). On Democracy. New Haven and London: Yale University Press.
ปริญญา เทวนฤมิตรกุล. (2555). การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง. กรุงเทพมหานคร: นานมีบุ๊คส์
พับลิเคชั่นส์ จำกัด.
เว็บไซต์ (Website)
สัปปุริสธรรม 7, (ม.ป.ป.) [ออนไลน์] สืบค้นเมื่อ 12 เษายน 2562
จาก https://sites.google.com/site/metawatee/hlak-thrrm-thang-sasna/sap-pu-ri-s-thrrm-7
หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ (2560). พุทธศาสนากับการพัฒนาไทยแลนด์ 4.0 สืบค้นเมื่อ 12 เมษายน
2562 จาก http://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/641259