แรงจูงใจในการทำงาน : ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้

Main Article Content

ดร.จักรี ศรีจารุเมธีญาณ
สุรศักดิ์ อุดเมืองเพีย

บทคัดย่อ

บทความนี้เป็นบทความวิชาการเพื่อนำเสนอแรงจูงใจในการทำงาน ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ การจูงใจเป็นกระบวนการที่บุคคลถูกกระตุ้นจากสิ่งเร้าโดยจงใจให้กระทำถึงการประยุกต์ทฤษฎีแรงจูงใจให้เป็นแนวทางในการทำงาน  ซึ่งสามารถแบ่งได้ดังนี้ คือ 1. กลุ่มทฤษฎีเนื้อหาครอบคลุมถึงทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการ  ทฤษฎีแรงจูงใจภายใน และทฤษฎีแรงจูงใจภายนอก  ประกอบด้วย 1) ทฤษฎี Abraham Maslow 2) ทฤษฎี Two-Factor 3) ทฤษฎี X และทฤษฎี Y 4) ทฤษฎี ERG  และ 2. กลุ่มทฤษฎีกระบวนการ รวมถึงทฤษฎีการกำหนดเป้าหมาย ทฤษฎีความเป็นธรรม ทฤษฎีความคาดหวัง และรวมทั้งนำเสนอแนวทางการพัฒนาแรงจูงใจในการทำงาน  จากทฤษฎีแรงจูงใจข้างต้น จึงมีการประยุกต์แรงจูงใจเพื่อใช้ในการปฏิบัติงานและสามารถนำไปใช้ในสถานการณ์จริงได้อย่างเหมาะสม

Article Details

บท
Academic Article
Author Biography

สุรศักดิ์ อุดเมืองเพีย, มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน, ประเทศไทย

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน, ประเทศไทย

References

จักรี ศรีจารุเมธีญาณ. (2560). เอกสารประกอบการสอน รายวิชา การบริหารทรัพยากรมนุษย์ในภาครัฐ. มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน. จังหวัดขอนแก่น. หน้า 147.
ณัฏฐ์พัชร์ ลาภบำรุงวงศ์. (2562). การประยุกต์ทฤษฎีแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน. วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์ (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม – สิงหาคม 2562. หน้า 167 – 168.
ปฐมวงค์ สีหาเสนา. (2557). แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรเทศบาลตำบลค่ายเนินวง ตำบลบางกะจะ อำเภอเมืองจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี. หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยบูรพา.
อรพินทร์ ชูชม. (2555). แรงจูงใจใน การทํางาน: ทฤษฎีและการประยุกต์. วารสารจิตวิทยา. มหาวิทยาลัยเกษม บัณฑิต ปีที่ 2. ฉบับที่ 2 มกราคม - ธันวาคม 2555. หน้า 52-61.
อรพินทร์ ชูชม, อัจฉรา สุขารมณ์ และ วิลาสลักษณ์ ชัววัลลี. (2542). การพัฒนาแบบวัดแรงจูงใจ ภายใน. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
อรพินทร์ ชูชม, อัจฉรา สุขารมณ์ และ อังศินันท์ อินทรกำแหง. (2553). การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่าง ครอบครัว งานกับคุณภาพชีวิต. วารสารพฤติกรรมศาสตร์, 16(2), 32-49.
Amabile, T. M. (1993). Motivational synergy: Toward new conceptualization of intrinsic and extrinsic motivation in the workplace. Human Resource Management Review, 3(3), 185- 201.
Barnes, S. J., & Pressey, A. D. (2012). Who needs real-life? Examining needs in virtual worlds. Journal of Computer Information Systems. 52(4), 40-48.
Disley, P., Hatton, C., & Dagnan, D. (2009). Applying equity theory to staff working with individuals with intellectual disabilities. Journal of Intellectual & Development Disability, 34(1), 55-66.
Frederick, W. Tr. (1911). The Principles of Scientific Management. New York: Harper and Brothers.
Herzberg,F., Bernard, M. & Snyderman, B. (1959). The Motivation to Work. New York: John Willey & Sons.
Latham, G. P., & Pinder, C. C. (2005). Work motivation theory and research at the dawn of the twenty-first century. Annual Review of Psychology, 56, 485-516.
layton,P. A. (1972). Existence, Relatedness & Growth: Human Needs in Organizational Setting. New York: The Free Press.
Loudon, D. L., & Bitta, D. A. J.(1988). Consummer Behavior: Concept and Applications. (3 rded). New York: McGraw-Hill.
Maslow, A.H. (1943). A Theory of Human Motivation. Psychological Review, p.370-396.
McGregor, D. (1960). The Human Side of Enterprise. New York: McGraw-Hill.
Pinder, C. (1998). Work Motivation in Organizational Behavior. Upper Saddle River, NJ: Prentice- Hall.
Gagne, M., & Deci, E. (2005). Self-determination theory and work motivation. Journal of Organizational Behavior. 26, 331-362.
Walter, K. (1978). The Working Class in Welfare Capitalism.London : Routledge & Kegan Paul.
Wahba, M. A., & Bridwell, L. G. (1973). Maslow reconsidered: A review of research on the needhierarchy theory. Academy of Management Proceedings. 514-520.