การขับเคลื่อนชุมชนนวัตวิถีเชิงพุทธ: กรณีศึกษาวัดจำปา อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษากระบวนการขับเคลื่อนของชุมชนนวัตวิถีเชิงพุทธ 2) เพื่อศึกษาการขับเคลื่อนชุมชนนวัตวิถีเชิงพุทธของวัดจำปา บ้านหัวนา ตำบลหนองแก้ว อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ 3) เพื่อศึกษาแนวทางการขับเคลื่อนของชุมชนนวัตวิถีเชิงพุทธ: กรณีศึกษาวัดจำปาบ้านหัวนา ตำบลหนองแก้ว อำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ
Article Details
บท
Research Articles
References
กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย. (2561). แนวทางการดำเนินงานโครงการชุมชนทองเที่ยว OTOP นวัตวิถี. กรุงเทพมหานคร: ม.ป.พ..
ปาริชาติ วลัยเสถียร และคณะ. (2543). “กระบวนการและเทคนิคการทำงานของนักพัฒนา”.
รายงานการวิจัย. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย (สกว.).
จิตจำนงค์ กิติกีรติ. (2536). การพัฒนาชุมชน. กรุงเทพมหานคร: คุณพิณอักษรกิจ.
พนา สวนศรี. (2546). คู่มือการท่องเที่ยวชุมชน. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์โครงการท่องเที่ยวเพื่อชีวิตและธรรมชาติ.
ธวัชชัย กฤติยาภิชาตกุล. (2547). ร้อยเรื่องเมืองพานิชย์. กรุงเทพมหานคร: สันติภาพ พริ้นท์.
พระพรสวรรค์ ฐิติญาโณ, ดร. และคณะ. (2560). “การเสริมสร้างความมั่นคงในชีวิตของเครือข่ายเศรษฐกิจพอเพียงในจังหวัดศรีสะเกษ”. รายงานการวิจัย. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์ ศรีสะเกษ พ.ศ.2560.
ศุภมาส เหล็นเรือง และคณะ. (2560). “ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จในการขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชน : กรณีศึกษา อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม”. รายงานการศึกษาเอกสารวิชาการ, สถาบันดำรงราชานุภาพ:กระทรวงมหาดไทย.
สุทัศน์ ประทุมแก้ว, ดร. และคณะ. (2562). “การพัฒนาผลิตภัณฑ์และส่งเสริมสัมมาชีพของหมู่บ้านรักษาศีล 5 ในจังหวัดศรีสะเกษ”. รายงานการวิจัย. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชำติ. (2558). คู่มือการดำเนินงานโครงการสร้างความปรองดองสมานฉันท์โดยใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา “หมู่บ้านรักษาศีล 5”. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ, 2558.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี. (2559). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ไทยปริ้นติ้ง เซ็นเตอร์.
ปาริชาติ วลัยเสถียร และคณะ. (2543). “กระบวนการและเทคนิคการทำงานของนักพัฒนา”.
รายงานการวิจัย. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย (สกว.).
จิตจำนงค์ กิติกีรติ. (2536). การพัฒนาชุมชน. กรุงเทพมหานคร: คุณพิณอักษรกิจ.
พนา สวนศรี. (2546). คู่มือการท่องเที่ยวชุมชน. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์โครงการท่องเที่ยวเพื่อชีวิตและธรรมชาติ.
ธวัชชัย กฤติยาภิชาตกุล. (2547). ร้อยเรื่องเมืองพานิชย์. กรุงเทพมหานคร: สันติภาพ พริ้นท์.
พระพรสวรรค์ ฐิติญาโณ, ดร. และคณะ. (2560). “การเสริมสร้างความมั่นคงในชีวิตของเครือข่ายเศรษฐกิจพอเพียงในจังหวัดศรีสะเกษ”. รายงานการวิจัย. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์ ศรีสะเกษ พ.ศ.2560.
ศุภมาส เหล็นเรือง และคณะ. (2560). “ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จในการขับเคลื่อนสัมมาชีพชุมชน : กรณีศึกษา อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม”. รายงานการศึกษาเอกสารวิชาการ, สถาบันดำรงราชานุภาพ:กระทรวงมหาดไทย.
สุทัศน์ ประทุมแก้ว, ดร. และคณะ. (2562). “การพัฒนาผลิตภัณฑ์และส่งเสริมสัมมาชีพของหมู่บ้านรักษาศีล 5 ในจังหวัดศรีสะเกษ”. รายงานการวิจัย. สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชำติ. (2558). คู่มือการดำเนินงานโครงการสร้างความปรองดองสมานฉันท์โดยใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา “หมู่บ้านรักษาศีล 5”. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ, 2558.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี. (2559). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ไทยปริ้นติ้ง เซ็นเตอร์.