การศึกษาการใช้สมุนไพรเพื่อการดูแลสุขภาพของพระสงฆ์: กรณีศึกษาอำเภอเบญจลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพของพระสงฆ์ในพระพุทธศาสนา 2. เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพของพระสงฆ์ อำเภอเบญจลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ 3. เพื่อศึกษาแนวทางการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพของพระสงฆ์ อำเภอเบญจลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ วิเคราะห์เอกสารประกอบข้อมูลความคิดเห็นจากการสัมภาษณ์เชิงลึกโดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 15รูป/คน นำเสนอผลการศึกษาโดยวิธีพรรณาวิเคราะห์
Article Details
บท
Research Articles
References
กระทรวงสาธารณสุข. แผนยุทธศาสตร์กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ระยะ 5 ปี(พ.ศ.2560–2564). ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1 (พ.ศ. 2562). นนทบุรี: กลุ่มงานยุทธศาสตร์และแผนงาน กองวิชาการและแผนงาน กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, 2561.
เทิดศักดิ์ ปฏิภาณวัฒน์. “ศึกษาวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างโรคตามหลักเวชกรรมแนวพุทธกับการรักษาพยาบาลตามแนวแพทย์แผนไทย”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2557.
ธรณัส ทองชูช่วย. “ภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้านในด้านการใช้สมุนไพรในการรักษาโรคของอำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา”. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชายุทธศาสตร์การพัฒนา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา, 2552.
ประดิษฐ์ จิระเดชประไพ. “การดำรงอยู่และปรับเปลี่ยนของระบบการแพทย์พื้นบ้าน: ศึกษากรณีการใช้สมุนไพรในจังหวัดพิษณุโลก”. วิทยานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนศึกษาศาสตร์. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2540.
พระครูวิมลจิตตานุโยค สญฺญจิตฺโต. “วิธีการใช้ยาสมุนไพรเชิงพุทธบูรณาการ”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2559.
พระครูอินทสารวิจักษ์ อนฺทสโร. “การรักษาโรคด้วยยาสมุนไพรและธรรมโอสถที่ปรากฏในคัมภีร์พระพุทธศาสนา”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2551.
พระมหาสิมรัตน์ สิริธมฺโม (บุญเขื่อง) และคณะ. “พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของพระภิกษุในจังหวัดแพร่”.รายงานวิจัย. สถาบันพุทธศาสตร์: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2553.
พิสิฏฐ์ บุญไชย. “การใช้สมุนไพรเพื่อการดูแลสุขภาพของชาวผู้ไทย จังหวัดมุกดาหาร”. รายงานวิจัย. สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2540.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2539.
วิไลวรรณ อาจาริยานนท์. “การศึกษาความสอดคล้องระหว่างการเสริมสร้างสุขภาพเชิงพุทธกับการเสริมสร้างสุขภาพของผู้มีอายุยืนในสังคมไทย”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพระพุทธศาสนา, บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2554.
วิโรจ นาคชาตรี. “ยาและวิธีรักษาโรคในพระไตรปิฎกฉบับหลวง”. รายงานการวิจัย. ภาควิชาปรัชญา คณะมนุษยศาสตร์: มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2552.
สมทรง ณ นคร. ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรม การใช้สมุนไพรในการรักษาโรคของชาวชนบทและบุคลากรทางสาธารณสุข ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. ขอนแก่น: คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2539.
เสนาะ ขาวขำ, “การใช้สมุนไพรตามพุทธานุญาตเพื่องานสาธารณสุขมูลฐาน”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2560.
สำนักงานสาธารณสุขมูลฐาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. ศักยภาพหมอพื้นบ้านกับการสาธารณสุขมูลฐาน: ภาพรวม. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึกษา, 2535.
เทิดศักดิ์ ปฏิภาณวัฒน์. “ศึกษาวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างโรคตามหลักเวชกรรมแนวพุทธกับการรักษาพยาบาลตามแนวแพทย์แผนไทย”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2557.
ธรณัส ทองชูช่วย. “ภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้านในด้านการใช้สมุนไพรในการรักษาโรคของอำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา”. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชายุทธศาสตร์การพัฒนา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา, 2552.
ประดิษฐ์ จิระเดชประไพ. “การดำรงอยู่และปรับเปลี่ยนของระบบการแพทย์พื้นบ้าน: ศึกษากรณีการใช้สมุนไพรในจังหวัดพิษณุโลก”. วิทยานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนศึกษาศาสตร์. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2540.
พระครูวิมลจิตตานุโยค สญฺญจิตฺโต. “วิธีการใช้ยาสมุนไพรเชิงพุทธบูรณาการ”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2559.
พระครูอินทสารวิจักษ์ อนฺทสโร. “การรักษาโรคด้วยยาสมุนไพรและธรรมโอสถที่ปรากฏในคัมภีร์พระพุทธศาสนา”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2551.
พระมหาสิมรัตน์ สิริธมฺโม (บุญเขื่อง) และคณะ. “พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองของพระภิกษุในจังหวัดแพร่”.รายงานวิจัย. สถาบันพุทธศาสตร์: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2553.
พิสิฏฐ์ บุญไชย. “การใช้สมุนไพรเพื่อการดูแลสุขภาพของชาวผู้ไทย จังหวัดมุกดาหาร”. รายงานวิจัย. สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2540.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2539.
วิไลวรรณ อาจาริยานนท์. “การศึกษาความสอดคล้องระหว่างการเสริมสร้างสุขภาพเชิงพุทธกับการเสริมสร้างสุขภาพของผู้มีอายุยืนในสังคมไทย”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาพระพุทธศาสนา, บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2554.
วิโรจ นาคชาตรี. “ยาและวิธีรักษาโรคในพระไตรปิฎกฉบับหลวง”. รายงานการวิจัย. ภาควิชาปรัชญา คณะมนุษยศาสตร์: มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2552.
สมทรง ณ นคร. ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรม การใช้สมุนไพรในการรักษาโรคของชาวชนบทและบุคลากรทางสาธารณสุข ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. ขอนแก่น: คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2539.
เสนาะ ขาวขำ, “การใช้สมุนไพรตามพุทธานุญาตเพื่องานสาธารณสุขมูลฐาน”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2560.
สำนักงานสาธารณสุขมูลฐาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. ศักยภาพหมอพื้นบ้านกับการสาธารณสุขมูลฐาน: ภาพรวม. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึกษา, 2535.