การศึกษาวิเคราะห์หลักพุทธธรรมที่ปรากฏในหนังประโมทัยอีสาน: กรณีศึกษาจังหวัดศรีสะเกษ

Main Article Content

พระมหาจันทร์ดี ปญฺญาวชิโร (สุดา)
พระกัญจน์ กนฺตธมฺโม
พระพรสวรรค์ ฐิติญาโณ
พระวิชาญ จูมครอง

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมาและสาระสำคัญของหนังประโมทัยอีสานจังหวัดศรีสะเกษ 2. เพื่อศึกษาหลักพุทธธรรมที่ปรากฏในหนังประโมทัยอีสานจังหวัดศรีสะเกษ 3. เพื่อวิเคราะห์คุณค่าของหลักพุทธธรรมที่ปรากฏในหนังประโมทัยอีสานที่มีต่อชุมชนจังหวัดศรีสะเกษ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ วิเคราะห์เอกสารประกอบข้อมูลความคิดเห็นจากการสัมภาษณ์เชิงลึกโดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 18 รูป/คน นำเสนอผลการศึกษาโดยวิธีพรรณาวิเคราะห์

Article Details

บท
Research Articles
Author Biographies

พระกัญจน์ กนฺตธมฺโม, วิทยาลัยสงฆ์ศรีสะเกษ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ประเทศไทย

วิทยาลัยสงฆ์ศรีสะเกษ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ประเทศไทย

Sisaket Buddhist College, Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Thailand

พระพรสวรรค์ ฐิติญาโณ, วิทยาลัยสงฆ์ศรีสะเกษ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ประเทศไทย

วิทยาลัยสงฆ์ศรีสะเกษ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ประเทศไทย

Sisaket Buddhist College, Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Thailand

พระวิชาญ จูมครอง, มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน

Mahamakut Buddhist University Northeast campus

References

กาญจนา แก้วเทพ และคณะ. สื่อเพื่อชุมชนการประมวลองค์ความรู้. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2543.
จารุวรรณ ธรรมวัตร. คติชาวบ้าน. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม, 2526.
บุญเจริญ บำรุงชู. “แนวทางการอนุรักษ์และพัฒนาหนังประโมทัยอีสานเพื่อส่งเสริมคุณค่าและมูลค่าทางวัฒนธรรมพื้นบ้าน”. วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต สาขาวัฒนธรรมศาสตร์. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2553.
พระครูสังฆรักษ์วิวัฒน์ (อภิชาโต). “วิเคราะห์หลักพุทธจริยธรรมที่ปรากฏในคะลำอีสาน”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2554.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย. พิมพ์ครั้งที่ 39. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยลัย, 2557.
พระสมชาติ ฐิติปญฺโญฺ (เครือน้อย). “จริยธรรมทางพระพุทธศาสนาที่ปรากฏในวรรณกรรมล้านนาเรื่องอ้ายร้อยขอด”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2546.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2539.
แม่ชีปาริชาต ทองนพคุณ. “การศึกษาวิเคราะห์หลักพุทธธรรมในวรรณคดีเรื่องพระอภัยมณี”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2551.
วรเชษฐ์ แถวนาชุม. “พัฒนาการของหนังประโมทัยในจังหวัดยโสธร”. วิทยานิพนธ์ศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาดุริยางคศิลป์. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2554.
วินัย จำปาอ่อน. “บทบาทของหนังประโมทัยในฐานะเป็นสื่อทางวัฒนธรรม: กรณีศึกษาจังหวัดศรีสะเกษ”. รายงานวิจัย. อุบลราชธานี: สนับสนุนทุนการวิจัยโดยมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 2550.
วิไลลักษณ์ ลิกขะไชย. “การเปลี่ยนแปลงของหนังประโมทัยในจังหวัดร้อยเอ็ด”. การศึกษาค้นคว้าอิสระศิลปศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาไทยคดีศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2544.
หิรัญ จักรเสน. “พัฒนาการของหนังประโมทัยในจังหวัดขอนแก่น”. วิทยานิพนธ์ศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาดุริยางคศิลป์. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2553.