การพัฒนาชุมชนเข้มแข็งเชิงพุทธ: กรณีศึกษาบ้านเวาะ ตำบลเหล่ากวาง อำเภอโนนคูณ จังหวัดศรีสะเกษ

Main Article Content

พระอธิการสมชาย มณีรัตน์
พระมหาธงชัย ธรรมทวี
พระมหาขุนทอง แก้วสมุทร์
พระจรัญ สุวโจ

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาหลักการพัฒนาชุมชนเข้มแข็งเชิงพุทธ             (2) เพื่อศึกษากระบวนการพัฒนาชุมชนเข้มแข็งเชิงพุทธ: กรณีศึกษาบ้านเวาะ ตำบลเหล่ากวาง  อำเภอโนนคูณ จังหวัดศรีสะเกษ (3) เพื่อศึกษาผลการพัฒนาชุมชนเข้มแข็งเชิงพุทธ: กรณีศึกษา   บ้านเวาะ ตำบลเหล่ากวาง อำเภอโนนคูณ จังหวัดศรีสะเกษ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยศึกษาข้อมูลจากเอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง และสัมภาษณ์แบบเจาะลึกจากผู้ให้ข้อมูลสำคัญได้แก่ พระสงฆ์ผู้ปกครองและปราชญ์ชุมชนพร้อมชาวบ้านเวาะจำนวน 21 รูป/คน เพื่อให้ได้แนวคิดในการพัฒนาชุมชนเข้มแข็งเชิงพุทธของชุมชนบ้านเวาะ ที่ชัดเจนยิ่งขึ้น

Article Details

บท
Research Articles
Author Biographies

พระมหาธงชัย ธรรมทวี, วิทยาลัยสงฆ์ศรีสะเกษ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ประเทศไทย

1-3วิทยาลัยสงฆ์ศรีสะเกษ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ประเทศไทย

1-3Sisaket Buddhist College, Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Thailand

พระมหาขุนทอง แก้วสมุทร์, วิทยาลัยสงฆ์ศรีสะเกษ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ประเทศไทย

1-3วิทยาลัยสงฆ์ศรีสะเกษ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ประเทศไทย

1-3Sisaket Buddhist College, Mahachulalongkornrajavidyalaya University, Thailand

พระจรัญ สุวโจ , มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน, ประเทศไทย

4มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน

4Mahamakut Buddhist University Northeast campus

References

กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม. (2550). พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน ตอนว่าด้วยพระสูตร. พิมพ์
ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จํากัด.
นิภาพรรณ พิพัฒน. (2549). “แนวทางการสงเสริมความเขมแข็งของชุมชนกับการพัฒนาวัฒนธรรม
การเมืองกรณีศึกษา: แขวงเม็งราย จังหวัดเชียงใหม่”. การคนควาแบบอิสระปริญญา
รัฐศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
บรรยวัสถ ฝางคํา และนฤมล ดวงแสง. (2553). “การประยุกตหลักพุทธธรรมเพื่อเสริมสร้างความ
เขมแข็งใหแกสถาบันครอบครัวและชุมชนตามนโยบายการปองกันปญหาสารเสพติดของ
จังหวัดอุบลราชธานี”. วิทยานิพนธปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย:
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระมหาทนงศักดิ์ ประไพหลง. (2547). “บทบาทวัดในการเสริมสรางชุมชนเขมแข็ง: กรณีศึกษาวัด
พัฒนาตัวอย่างที่มีผลงานดีเดนในจังหวัดชลบุรี”. วิทยานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต. บัณฑิต
วิทยาลัย: มหาวิทยาลัยบูรพา.
พระมหาวิเชียร ชาญณรงค์. (2544). “บทบาทพระสงฆ์ในการนำหลักธรรมมาใช้ในกิจกรรมการ
พัฒนาชุมชน เพื่อลด ละ เลิก อบายมุข: ศึกษาเฉพาะพระครูศีลวราภรณ์
(เฉลิม ฐิติสีโล)”. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
พลเดช ปิ่นประทีป. (2543). “องค์กรการเงินชุมชน: ฐานรากที่ขาดไม่ได้ของประชาสังคม,” ใน ชุมชนไทย
ท่ามกลางกระแสการเปลี่ยนแปลง, (กรุงเทพมหานคร: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
ศุภกิจ วรอุไร. (2548).“ปัจจัยที่เสริมสร้างความเขมแข็งของชุมชนกรณีศึกษา ชุมชนหมื่นสาร บ้านวัว
ลาย อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่”. วิทยานิพนธปริญญารัฐศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิต
วิทยาลัย: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
เสน่ห์ จามริก. (2543). “ชุมชนไทยภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์” ใน ชุมชนไทยท่ามกลางกระแสการ
เปลี่ยนแปลง. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.