ข้อถกเถียงว่าด้วยสิทธิการอุปสมบทภิกษุณีในสังคมไทย

Main Article Content

พระสุภาพร เตชธโร

บทคัดย่อ

บทความเรื่อง “ข้อถกเถียงว่าด้วยสิทธิการอุปสมบทภิกษุณีในสังคมไทย” เป็นการชี้ให้เห็นถึงการเรียกร้องการบวชของภิกษุณีไทยต่อมติมหาเถรสมาคมที่ห้ามภิกษุสงฆ์ไทยให้การอุปสมบทแก่สตรีเป็นภิกษุณีด้วยเหตุผลทางการสืบสายกำเนิดของภิกษุณีที่ขาดตอน และกฎบัญญัติทางพระธรรมวินัยในฝ่ายเถรวาท ดังนั้นจึงเกิดการเรียกร้องความชอบธรรมในการอุปสมบทด้วยเหตุผลตามหลักสิทธิมนุษยชน หลักสตรีนิยม (Liberal Feminism) สิทธิในการบรรลุธรรม และสิทธิเสรีภาพตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ เพื่อความชอบธรรมและสิทธิในการอุปสมบทของภิกษุณีในประเทศไทยให้ได้รับการยอมรับในทางกฎหมายและฐานะในการอุปสมบทที่ถูกต้องดีงามตามพื้นฐานแห่งข้อบัญญัติที่มีผลในด้านต่างๆ ทางกฎหมาย

Article Details

บท
Academic Article

References

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ๒๕๓๙. เล่มที่ ๓,
เล่มที่ ๗ และเล่มที่ ๑๙
ถอดเทปรายการ ตอบโจทย์ ไทยพีบีเอส: "ภิกษุณี" สิทธิการบวชภายใต้ "หลักพระธรรม
วินัยหรือสิทธิมนุษยชน" เมื่อวันที่ ๑๗ ธ.ค. ๒๕๕๗ อัปโหลดโดย ThaiPBS
ถอดเทป การเสวนาเรื่อง : “สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ กรณีศึกษาภิกษุณี”, จัดโดย
คณะอนุกรรมาธิการพิจารณา ศึกษา ติดตาม ตรวจสอบและส่งเสริมการดำเนินงานด้านสิทธิมนุษยชนในคณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชน สิทธิเสรีภาพและการคุ้มครองผู้บริโภค วุฒิสภาร่วมกับคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติเครือข่ายเสนอกฎหมายเพื่อส่งเสริมภิกษุณีเติมเต็มพุทธบริษัท ๔วันศุกร์ที่ ๑๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ เวลา ๐๘.๓๐ – ๑๔.๐๐ นาฬิกา ณ ห้องประชุมคณะกรรมาธิการ หมายเลข ๓๐๖ – ๓๐๘ ชั้น ๓ อาคารรัฐสภา ๒
ฉัตรสุมาลย์ กบิลสิงห์. มาดูสตรีในพระพุทธศาสนา. กรุงเทพมหานคร : บ.สารมวลชน จำกัด,
๒๕๒๘
. การพัฒนาสตรีในพระพุทธศาสนา.กรุงเทพมหานคร : บ.สารมวลชน
จำกัด, ๒๕๔๔.
พระธรรมปิฎก(ประยุทธ์ ปยุตโต).พจนานุกรมพุทธศาสตร์(ฉบับประมวลศัพท์).พิมพ์ครั้งที่ ๙
โรงพิมพ์จุฬาลงกรราชวิทยาลัย : กรุงเทพมหานคร, ๒๕๔๓
สง่า หล่อสำราญ.มหาวารุณี ภูริสิน สิทธิ์. สตรีนิยม: ขบวนการและแนวคิดทางสังคมแห่ง
ศตวรรษที่ ๒.กรุงเทพมหานคร : โครงการจัดพิมพ์คบไฟ ๒๕๔๕
.สาวิกาสมัยพุทธกาล.กรุงเทพมหานคร : อักษรสยามการพิมพ์, ๒๕๔๐.
เสมอ บุญมา,ภิกษุณีในพระพุทธศาสนา, วารสารสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ปีที่ ๑๓
เล่มที่ ๑ (มกราคม –มิถุนายน, ๒๕๒๔
https://en.wikipedia.org/wiki/Feminism, สตรีนิยม (Liberal Feminism) ,สืบค้น ๒๕
พฤษภาคม ๒๕๖๐.
https://www.sakulthai.com/Dsakulcolumndetail.asp = 672&stsseid. กาญจนา นาคสกุล,
พุทธบริษัท ภิกษุ หลักการปฏิบัติตนของภิกษุณีใหม่ ครุธรรม ๘ ประการ,
สืบค้น ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๖๐, เวลา ๑๒.๐๐ น.