กลยุทธ์การจัดการเชิงบูรณาการทางพระพุทธศาสนากับการพัฒนาในยุคThailand 4.0

Main Article Content

ภัชลดา สุวรรณนวล
ประสิทธิ์ พันธวงษ์

บทคัดย่อ

ประเทศไทยต้องเผชิญกับสถานการณ์ทางสังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว กรอปด้วยความเจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วในศตวรรษที่ 21 ส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิต ค่านิยม ทัศนคติ และพฤติกรรมของพลเมืองในสังคม ความเปลี่ยนแปลงในยุคโลกาภิวัฒน์ การพัฒนาคุณภาพคนไทยให้มีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง ปลูกฝังการพร้อมรับฟังความคิดเห็นจากผู้อื่น และจิตใจที่มีคุณธรรม ซื่อสัตย์ มีระเบียบวินัยสร้างจิตสำนึกให้คนไทยมีความรับผิดชอบต่อสังคม เคารพกฎหมาย หลักสิทธิมนุษยชน การสร้างศักยภาพและความสามารถเพื่อการพัฒนาทางสังคม การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันของท้องถิ่นและสังคม ดังนั้นการพัฒนาศักยภาพของมนุษย์ได้ถูกกำหนดไว้ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555–2559) “สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขด้วยความเสมอภาคเป็นธรรม และมีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง” (สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ,  2554 : 137) “พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี กล่าวในรายการคืนความสุขให้คนในชาติช่วงหนึ่งว่า จะพัฒนาประเทศไทยภายใต้คำจำกัดความว่า “ประเทศไทย 4.0” เพื่อสร้าง “ความสุขที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการปฏิรูปประเทศ และการวางรากฐานการพัฒนาในอนาคต...” ซึ่งปัจจัยที่ทำสำคัญให้มีความต้องการนักบริหารที่มีศักยภาพสูงในการประยุกต์ความรู้ทางทฤษฎี การศึกษาวิจัย และองค์ความรู้ใหม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งคือองค์ความรู้ทางพุทธศาสนา เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติจริงและการแก้ไขปัญหาดั

Article Details

บท
Academic Article
Author Biography

ประสิทธิ์ พันธวงษ์, หลักสูตร สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ห้องเรียนสุราษฎร์ธานี

หลักสูตร สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ห้องเรียนสุราษฎร์ธานี

References

ธงชัย สันติวงษ์. การบริหารเชิงกลยุทธ์. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช. 2542.
ปณัชญา ลีลายุทธ.“พระพุทธศาสนากับการสื่อสารทางการเมืองเพื่อสันติของพลเมือง”.วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์ :การศึกษากับการเป็นพลเมืองโลก:มุมมองพระพุทธศาสนา.ปีที่ 9
ฉบับพิเศษ เนื่องในโอกาสเฉลิมฉลองวันวิสาขบูชา วันสำคัญสากลของโลกประจำปี. 2546.
ประสิทธิ์ พันธวงษ์. (2559). การประชุมวิชาการระดับชาติ “ราชมงคลสุรินทร์วิชาการ ครั้งที่ 8”
“วิจัยเพื่อประเทศไทย 4.0” มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์.
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). พุทธธรรม ฉบับปรับปรุงและขยายความ. พิมพ์ครั้งที่ 11.
กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. 2546.
พระครูวิสุทธานันทคุณ (สุรศักดิ์ วิสุทฺธาจาโร). (2557). การบริหารจัดการวัดเพื่อความมั่นคงแห่ง
พระพุทธศาสนา. ปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต,การจัดการเชิงพุทธ, บัณฑิตวิทยาลัย :
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. 2557.

พระครูสนทรวุชรกิจ (บุญธรรม ธมฺมิโก). กลยุทธ์การจัดการทรัพยากรมนุษย์ของคณะสงฆ์จังหวัด
เพชรบุรี. ปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต. สาขาการจัดการเชิงพุทธ. บัณฑิตวิทยาลัย:
มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.2557.
ภัชลดา สุวรรณนวล. การจัดการเชิงกลยุทธ์. กรุงเทพมหานคร : บริษัท ทริปเพิ้ลกรุ๊ป จำกัด. 2559.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. 2539.
วารสารบัณฑิตศึกษา มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร, Vol.3 No. 1 January - June. 2014 : 6
วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ปีที่ 29 ฉบับที่ 3 เดือนกรกฎาคม - กันยายน 2552 : 163-164)
สุวิทย์ เมษินทรีย์. สืบค้นเมื่อ 25พฤษภาคม 2560.จากMaesinceehttps://www.facebook.com.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555–2559). กรุงเทพมหานคร :สหมิตรพริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง
จํากัด.2554.
อรทัย มีแสง. ทฤษฎีบูรณาการเชิงพุทธ. ปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต (พระพุทธศาสนา), บัณฑิต
วิทยาลัย :มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. 2555.