บทบาทของพระสงฆ์กับนโยบายความมั่นคงในทศวรรษปี 1970

Main Article Content

ณรงค์ เชื้อบัวเย็น
พระมหาชัยชนะ บุญนาดี

บทคัดย่อ

พระภิกษุสงฆ์มีบทบาทและหน้าที่สำคัญมากต่อนโยบายความมั่นคงทั้งในช่วงภาวะสงครามและภาวะปกติ เพราะอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะของพุทธศาสนิกชน ซึ่งเป็นฐานะของความไว้วางใจของประชาชน ที่รู้สึกสับสนและวิตกกังวลเพราะสภาวะของการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและการเมืองระหว่างประเทศ ดังเช่นที่เคยแบ่งเป็น 2 ค่าย คือ ฝ่ายโลกเสรีที่นำโดยสหรัฐอเมริกา และฝ่ายคอมมิวนิสต์ ที่นำโดยสหภาพโซเวียต ซึ่งก่อให้เกิดความตึงเครียดระหว่างประเทศ และส่งผลต่อนโยบายต่างประเทศของไทยในยุคสงครามเย็นด้วย ปัจจุบันบทบาทของพระสงฆ์ในฐานะผู้นำที่เป็นขวัญและกำลังใจของพุทธบริษัทในภาวะที่สังคมเกลื่อนกล่นไปด้วยความไม่ไว้วางใจต่อกันของคนในชาติ ถูกนำกลับมาพิจารณาอีกครั้งภายใต้การครอบงำของกลุ่มพลังฝ่ายขวา/กลุ่มอนุรักษ์นิยมในการเมืองไทย


 

Article Details

บท
Review Articles
Author Biography

พระมหาชัยชนะ บุญนาดี, มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน

Lecturer, Mahamakut Buddhist University Isaan Campus

References

กรมศิลปากร.(2523).การเสด็จประพาสยุโรปของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ร.ศ.116 เล่ม 1.กรุงเทพฯ: สหประชาพาณิชย์

กระทรวงวัฒนธรรม.(2551).กรมการศาสนา.กรุงเทพฯ :โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตร

แห่งประเทศไทย จำกัด.

จุลชีพ ชิณวรรโณ.(2535). นโยบายต่างประเทศไทยช่วงสงครามเย็น.ใน 5 ทศวรรษการ

ต่างประเทศของไทย: จากความขัดแย้งสู่ความร่วมมือ.คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์

มหาวิทยาลัย.

ชัยอนันต์ สมุทรวณิช.(2552). รัฐ. กรุงเทพฯ.สถาบันนโยบายศึกษา.

ธานินทร์ กรัยวิเชียร.(2520).ลัทธิและวิธีการของคอมมิวนิสต์.กรุงเทพฯ :กรมวิชาการ

กระทรวงศึกษาธิการ.

บุญชนะ อัตถากร.(2526).บันทึก วิเคราะห์และวิจารณ์ 16 นายกรัฐมนตรีไทย.มูลนิธิ

ศาสตราจารย์ บุญชนะ อัตถากร.กรุงเทพฯ.

ประทุมพร วัชรเสถียร.(2535). ไทยกับสงครามเวียดนาม : ประเมินผลจากนโยบายในอดีต.

ใน 5 ทศวรรษการต่างประเทศของไทย :จากความขัดแย้งสู่ความร่วมมือ.คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ยงยุทธ วัชรดุลย์.(2548).องค์พุทธมามกะ ความมั่นคงของพระพุทธศาสนาในประเทศไทย.

สมาคมความมั่นคงของพระพุทธศาสนาในประเทศไทย.กรุงเทพฯ: โพสพับลิชชิ่ง

ระวี ภาวิไล.(2527).คำบรรยายเรื่อง พุทธศาสนากับความมั่นคงของชาติ.เอกสารอัดสำเนา.

ธรรมสถานจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วิมลพรรณ ปีตธวัชชัย.(2546).สัญญา ธรรมศักดิ์ คนของแผ่นดิน.กองทุนศาสตราจารย์

สัญญา ธรรมศักดิ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.โรงพิมพ์เดือนตุลา.

สุทธิพงศ์ ตันตยาพิศาลสุทธิ์.(2552).ศาสนาประจำชาติ.กรุงเทพฯ:สำนักงานส่งเสริมคุณธรรม

จริยธรรม และความมั่นคงแห่งสถาบันชาติ พระศาสนา พระมหากษัตริย์.

สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี.(2553).พระและเจ้าในโลกคอมมิวนิสต์.ใน อ่าน : ศีลธรรมกับ

ประชาธิปไตย.ปีที่ 2 ฉบับที่ 3 (มกราคม-มีนาคม 2553)โรงพิมพ์ภาพพิมพ์.

สุรชาติ บำรุงสุข.(2535).ไทยกับปัญหากัมพูชา : ผลกระทบต่อนโยบายความมั่นคง และ

ต่างประเทศของไทย.ใน 5 ทศวรรษการต่างประเทศของไทย : จากความขัดแย้งสู่ ความร่วมมือ.คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สภายุวพุทธิกสมาคมแห่งชาติในพระบรมราชูปภัมภ์.(2526).พระพุทธศาสนากับความมั่นคง

ของชาติ.สำนักพิมพ์ประเทืองวิทย์.

หนังสือพิมพ์จัตุรัส.ปีที่ 2 ฉบับที่ 51 วันอังคารที่ 29 มิถุนายน 2519.

หนังสือพิมพ์ผู้จัดการ รายวัน ฉบับวันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ.2547.

หนังสือพิมพ์มติชนรายวัน.ฉบับวันศุกร์ที่ 16 มีนาคม 2555.

James L.Ray and Juliet Kaarbo.(2010).Global Politics. Houghton Mifflin

Company,Boston New York.

Raymond Cohen.(1978).Threat Perception in International Crisis.in Political

Science Quarterly Vol.93,No.1 (Spring,1978), pp.93-107.