ปัจจัยการบริหารงานที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติราชการของ กองบัญชาการตำรวจนครบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติ

Main Article Content

เชาวลิต บริบูรณ์รัตน์
อติพร เกิดเรือง
ประยุทธ สวัสดิ์เรียวกุล

บทคัดย่อ

การวิจัยปัจจัยการบริหารงานที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์กา


ปฏิบัติราชการของกองบัญชาการตำรวจนครบาล สำนักงาน


ตำรวจแห่งชาติ ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับ


ความสำคัญของปัจจัยการบริหารงาน และระดับผลสัมฤทธิ์การ


ปฏิบัติราชการ2) เพื่อศึกษาปัจจัยการบริหารงานที่ส่งผลต่อ


ผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติราชการและ 3) เพื่อนำเสนอแนวทางที่


เหมาะสมในการบริหารงานเพื่อนำไปสู่การผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติ


ราชการของกองบัญชาการตำรวจนครบาล สำนักงานตำรวจ


แห่งชาติ ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ข้าราชการตำรวจใน


สังกัดกองบัญชาการตำรวจนครบาล จำนวน 400ราย และผู้ให้


ข้อมูล ได้แก่ ผู้บังคับบัญชาระดับกองบัญชาการ จำนวน 5 ราย


เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่


แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในวิเคราะห์ข้อมูล


เชิงปริมาณได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบน


มาตรฐานและการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณข้อมูลเชิงคุณภาพ


วิเคราะห์เนื้อหา สังเคราะห์เป็นประเด็นร่วมหรือประเด็นหลัก


และอธิบายเนื้อหาผลการวิจัย พบว่า1) ปัจจัยการบริหารงาน


ของกองบัญชาการตำรวจนครบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติ


ในภาพรวมมีความสำคัญอยู่ระดับมาก โดยพบว่า ปัจจัยการ


บริหารงานที่มีระดับความสำคัญมากที่สุด ได้แก่ ด้านวัฒนธรรม


องค์การรองลงมา ได้แก่ ด้านหลักธรรมาภิบาลด้านลักษณะของ


องค์การ ด้านภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง และด้านทรัพยากรการ


บริหารตามลำดับและผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติราชการในภาพรวมมี


ระดับผลสัมฤทธิ์อยู่ระดับมาก โดยพบว่า ผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติ


ราชการที่มีระดับผลสัมฤทธิ์มากที่สุด ได้แก่ ด้านประสิทธิผล


ตามพันธกิจรองลงมา ได้แก่ ด้านการพัฒนาองค์การด้า


ประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ และด้านคุณภาพการ


ให้บริการตามลำดับ2) ปัจจัยการบริหารงานด้านหลักธรรมาภิ


บาลด้านทรัพยากรการบริหาร และด้านวัฒนธรรมองค์การส่งผล


ต่อผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติราชการของกองบัญชาการตำรวจนคร


บาลในภาพรวมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติและ3) แนวทางที่


เหมาะสมในปัจจัยการบริหารงานภารกิจได้แก่ การเพิ่มกำลังพล


ให้เหมาะสม เพียงพอแก่การปฏิบัติหน้าที่ การให้ผลตอบแทนที่


เหมาะสม การจัดหาเครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ อย่างเพียงพอ


รวมถึงการจัดกิจกรรมร่วมกับชุมชนเพื่อสร้างความสัมพันธ์


ใกล้ชิดกับตำรวจและประชาชนยิ่งขึ้น จะทำให้ประชาชนให้


ความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่ส่งผลให้การทำงานให้บรรลุผลง่าย


ขึ้น

Article Details

บท
Research Articles
Author Biographies

อติพร เกิดเรือง, Shinawatra University, Thailand.

Shinawatra University, Thailand.

ประยุทธ สวัสดิ์เรียวกุล, Shinawatra University, Thailand.

Shinawatra University, Thailand.

References

กรณิการ์พรณะศรี. (2550). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงานของข้าราชการกรมส่งเสริมการเกษตรในเขตภาคตะวันออก. วิทยานิพนธ์ปริญญารัฐประศาสนศาสตร์มหาบัณฑิตสาขาวิชาวิทยาการจัดการ, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
กัลยา วานิชย์บัญชา. (2554). การวิเคราะห์สถิติขั้นสูงด้วย SPSS. กรุงเทพฯ : ภาควิชาสถิติ คณะพาณิชยศาสตร์.
กิตติชัยรุจิวินิจฉัย. (2558). การพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการงานสอบสวนของกองบัญชาการตำรวจนครบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติ. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. 5(2) : 22-35.
กุลประภัสสร์รำพึงจิตต์. (2556). ผลสัมฤทธิ์ในการบริหารจัดการน้ำตามแผนยุทธศาสตร์กรมชลประทานพ.ศ.2553-2556 : ศึกษากรณีสำนักชลประทานที่ 11. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์, มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
เกรียงศักดิ์เขียวยิ่ง. (2535).การบริหารรัฐกิจแนวคิดหลักการและการปฏิบัติ. ขอนแก่น : ขอนแก่นการพิมพ์.
จักรกฤษณ์นรนิติผดุงการ. (2541). การจัดการด้านปัจจัยในการบริหารงาน. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพาณิช.
จันทิมาชุวานนท์. (2553). การพัฒนากลยุทธ์การบริหารคณะวิชาภาษาต่างประเทศสำหรับมหาวิทยาลัยจัดตั้งใหม่ของรัฐในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาบริหารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยสยาม.
จิรประภาอัครบวรและประยูรอัครบวร. (2552). การตลาดสำหรับภาครัฐ (Marketing in Public Sector). กรุงเทพฯ : ก.พลพิมพ์ (1996) จำกัด.
จีรวัฏฐ์ บุญวัฒนาภรณ์. (2556). ผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของกองบังคับการปราบปรามกองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลางสำนักงานตำรวจแห่งชาติ. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์, มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
ชัยวัสส์ เอกภพณรงค์. (2550). การมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันอาชญากรรม กรณีศึกษาพื้นที่ สถานีตำรวจนครบาลบุคคโล. สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, ภาควิชาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ดาวรุวรรณถวิลการ. (2552). วัฒนธรรมองค์การในโรงเรียนพระราชทาน: การวิจัยเชิงชาติพันธ์วรรณา. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิตสาขาการบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ตินปรัชญพฤทธิ์. (2539). หลักการจัดการ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
. (2533). ภาวะการณ์เป็นผู้นำและการมีส่วนร่วม(พิมพ์ครั้งที่ 7). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
. (2553). ทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
. (2553). ทฤษฎีองค์การ(พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: อินทภาษ.
ทศพรศิริสัมพันธ์. (2543). “การบริหารผลการดำเนินงาน (Performance Management)”, บทความวิชาการ 100 ปีรัฐประศาสนศาสตร์ไทย. กรุงเทพฯ : คณะรัฐศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ทิพวรรณหล่อสุวรรณรัตน์. (2550). ทฤษฎีองค์การสมัยใหม่. (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: รัตนไตร.
นงลักษณ์ วิรัชชัย. (2542). การวิเคราะห์อภิมาน. กรุงเทพมหานคร: คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
บวรศักดิ์ อุวรรณโณ.(2554). รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.
บินใดกาญจนสุวรรณ. (2550). วัฒนธรรมองค์การในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจ : กรณีศึกษาสถานีตำรวจนครบาลมักกะสัน. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตสาขารัฐประศาสนศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต.
ประชาธิปัตย์ พงษ์ภิญโญ. (2558).ผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของกรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะวิทยาลัยบัณฑิตศึกษาด้านการจัดการ. มหาวิทยาลัยศรีปทุม
เปรมชัยสโรบล. (2550). ปัจจัยการบริหารที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชาการบริหารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศิลปากร.
พรพรรณอินทรประเสริฐ. (2550). องค์ประกอบการบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในทศวรรษหน้า.วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาการบริหารการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศิลปากร.
พสุเดชะรินทร์. (2547). ความสำคัญของการบริหารเทคโนโลยีกับการแข่งขันขององค์กรธุรกิจManagement Technology Transfer. กรุงเทพฯ : คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. เอกสารประกอบการบรรยาย.
พิชายรัตนดิลกณภูเก็ต. (2550). “วัฒนธรรมองค์การกับประสิทธิผลขององค์การราชการ,” วารสารพัฒนาสังคม, 10(2), หน้า 25-48.
เพ็ญรัตน์วิเศษปรีชา. (2550). การบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์การที่ได้รับเลือกเป็นนายจ้างดีเด่นแห่งประเทศไทย: กรณีศึกษาบริษัทฟาบริเนทจำกัด. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และองค์การ, คณะทรัพยากรมนุษย์สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
ภาวิน ชินะโชติ. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างความผูกพันต่อองค์การกับพฤติกรรมการเป็นสมาชิกของพนักงานธนาคารพาณิชย์ขนาดเล็กในกรุงเทพมหานคร.วารสารเกษมบัณฑิต. 16(2) : 41-60.
ยศไกรวงษ์ดาวไทย. (2549). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม.วิทยานิพนธ์ปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยบูรพา.
รังสรรค์ประเสริฐศรี. (2551). ภาวะผู้นำ. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : ธีระฟิล์มและไซเท็กซ์.
รังสรรค์อินทน์จันทน์. (2552). ปัจจัยที่มีผลต่อความก้าวหน้าการถ่ายโอนภารกิจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น: ศึกษาเฉพาะกรณีองค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) ในจังหวัดนครปฐม. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขารัฐประศาสนศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศรีปทุม.
รัตติกรณ์จงวิศาล. (2551). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง Transformational Leadership Theory. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์ และอัจฉรา ชำนิประศาสน์. (2545). ระเบียบวิธีการวิจัย.กรุงเทพฯ: พิมพ์ดีการพิมพ์.
วัชรพงษ์อินทรวงศ์. (2552). อิทธิพลของวิธีปฏิบัติด้านทรัพยากรมนุษย์ต่อผลการปฏิบัติงานบุคลากรสายผู้สอนในสถาบันอุดมศึกษา. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขารัฐประศาสนศาสตร์, คณะรัฐศาสตร์สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
วิรัชวิรัชนิภาวรรณ. (2551). การวิเคราะห์เปรียบเทียบความหมายของการบริหารการจัดการการบริหารการพัฒนาและการบริหารจัดการ. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. เอกสารประกอบการบรรยาย.
วิโรจน์สารรัตนะ. (2547). “ภาวะผู้นำ :จากทฤษฎีสู่ข้อเสนอตัวแบบหลักสูตรพัฒนาบุคลากร”, วารสารศึกษาศาสตร์, 27(3),หน้า 40-52.