แนวทางการจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษของนิสิตปริญญาตรีหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา โดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ

Main Article Content

สริญญา มารศรี
นิรัช เรืองแสน

บทคัดย่อ

การจัดการศึกษาวิชาภาษาอังกฤษของนิสิตปริญญาตรีสาขาวิชาสังคมศึกษา ต้อง เป็นไปเพื่อพัฒนาศักยภาพให้เป็นทักษะ การใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร  ท่ามกลางยุคศตวรรษที่ 21 และการก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนของประเทศไทย ส่งผลให้ผู้เรียนต้อง  เรียนรู้การใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารได้ด้วยตนเอง ขณะที่ผู้สอนต้องลดบทบาทลงเหลือเพียงการเป็นโค้ช แต่ทั้งผู้สอนและผู้เรียนยังสามารถร่วมกันในการออกแบบ และจัดการการเรียนรู้ร่วมกันได้ ในลักษณะ การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน เน้นการเรียนการสอนแบบกระตือรือร้น หรือการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ส่งเสริม ผู้เรียน ให้มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอนอย่างกระฉับกระเฉง (Active Participation) มีการให้ข้อมูลย้อนกลับ (Feedback) แก่ผู้เรียนเพื่อการปรับปรุงพัฒนาตนเอง ผู้สอนมีการจัดสถานการณ์เพื่อสร้างพลังใจให้ผู้เรียน ได้รู้ว่าตนเองก็มีความสามารถทําได้สามารถในการสร้างการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม สามารถ ในการเลือกใช้กลยุทธ์การเรียนรู้ต่าง ๆ (Learning Strategies) ที่เหมาะสมกับวัยและระดับชั้นของผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนมีลีลาการเรียน (Learning Styles) เป็นของตนเอง รวมถึงกลยุทธ์การเรียนรู้ต่าง ๆ เช่น กลยุทธ์ในการสื่อสาร เทคนิคการจํา-การถาม การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การคิดเชิงสร้างสรรค์ การทํางานร่วมกับผู้อื่น เป็นต้น ดังนั้นกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของผู้สอนและผู้เรียน จึงควรเน้น“กระบวนการเรียนรู้สําคัญกว่าความรู้”และ“กระบวนการหาคําตอบที่สําคัญกว่าคําตอบ”

Article Details

บท
Articles

References

กรมวิชาการ. (2543). การบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ : กระทรวงศึกษาธิการ.

ชาญชัย ยมดิษฐ์. (2548). เทคนิคและวิธีการสอนร่วมสมัย.กรุงเทพฯ: หลักพิมพ์.

ทิศนา แขมมณี. (2552). รูปแบบการเรียนการสอนทางเลือกที่หลากหลาย. กรุงเทพฯ:

สํานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พิมพ์พันธ์ เดชะคุปต์. (2541). การเรียนแบบร่วมมือ Cooperative Learning.

วารสารวิชาการคุรุปริทัศน์สถาบันราชภัฏสวนสุนันทา. 1 (พฤษภาคม).

วิทยาลัยสงฆ์พุทธชินราช, หลักสูตรครุศาตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา,สืบค้นจาก

เวปไซต์ https://pl.mcu.ac.th/?page_id=638 วันที่ 20 พฤศจิกายน 2563

โสรัจจ์ แสนคํา. (2560). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค LT ที่มีต่อ

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องสารในชีวิตประจําวัน ของนักเรียนชั้น

ประถมศึกษาปีที่ 6. วารสาร Veridian E-Journal. ปีที่ 10 ฉบับที่ 1.

ไสว ฟักขาว. (2544). หลักการสอนสาหรับการเป็นครูมืออาชีพ. กรุงเทพฯ : สถาบันราชภัฎ

จันทรเกษม.

อาภรณ์ ใจเที่ยง. (2550). หลักการสอน. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.

Arends. (1994). Learning to teach. 3rd ed. New York: McGraw Hill. 55

Johnson, D. W. & Johnson, R. J. (1975). Learning together and alone.

Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall.

Johnson, D. W., & Johnson, F. P. (1987). Joining together: Group theory and

group skills (3rd edition). Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall.

Kagan, S. (1995). Cooperative learning. San Juan Capistrano, CA: Resources

for Teachers, Inc.

Slavin, R. E. (1991a). Synthesis of research on cooperative learning.

Educational Leadership, 48 (5), 70-88.