“ปลัดขิก” นี้มีที่มา

Main Article Content

ภาณุเดช จริยฐิตินันท์
ผ่องพิชญ์ สวงรัมย์

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะนำเสนอถึง“ปลัดขิก”เครื่องรางชนิดหนึ่งมีปรากฏในสังคมไทย โดยบทความนี้ในเบื้องต้นได้กล่าวถึงเนื้อหาความเป็นมาและการแบ่งประเภทของเครื่องรางชนิดต่างๆจากนั้นเป็นการรวมรวมข้อมูลจากแหล่งที่มาที่หลากหลายนำมาวิเคราะห์หานิยามการตั้งความหมายของปลัดขิก ตลอดจนวิเคราะห์ข้อมูลความเป็นมาของปลัดขิกจาก 2 หลักใหญ่ คือ 1) ที่มาในบริบทของการกำเนิดเครื่องรางสากลและอิทธิพลของศาสนาพราหมณ์แบบไศวนิกาย 2) ที่มาในบริบทของการนับถือผีอันเป็นความเชื่อดั้งเดิมของกลุ่มชนที่เรียกว่า ไท หรือ ไต อันเป็นกลุ่มชนดั้งเดิมที่นับได้ว่าเป็นบรรพบุรุษของชาวเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ท้ายสุดจึงนำข้อมูลจากที่มาทั้งสองแหล่งมาทำการวิเคราะห์ถึงอิทธิพลสู่สังคมพุทธในแบบไทย อธิบายถึงเหตุผลว่าทำไมเครื่องรางชนิดนี้จึงเป็นเครื่องรางยอดนิยมในสังคม จนมีการผลิตซ้ำอย่างต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน


 

Article Details

บท
Articles

References

กาญจนาคพันธุ์ (ขุนวิจิตรมาตรา (สง่า กาญจนาคพันธุ์)). (2546). คอคิดขอเขียน เล่ม 2

ชุดเครื่องราง โหราศาสตร์. กรุงเทพฯ: วัชรินทร์การพิมพ์.

ฐิรชญา มณีเนตร. (2553). ไทยศึกษาเพื่อการท่องเที่ยว. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

เดวิด เค. วัยอาจ. (2557). ประวัติศาสตร์ไทยฉบับสังเขป (กาญจนี ละอองศรีและคณะ, ผู้

แปล). กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.

เทพย์ สาริกบุตร. (ม.ป.ป.). คัมภีร์หัวใจ 108. กรุงเทพฯ: เสริมวิทย์.

ประพจน์ อัศววิรุฬหการ. (2548). ความเชื่อและศาสนากับสังคมไทย. ในเอกสาร

ประกอบการสอนชุดวิชาไทยศึกษา .นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

ฝ่ายวิชาการภาษาไทย บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด (มหาชน). (2552). พจนานุกรมไทยฉบับ

ทันสมัยและสมบูรณ์. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.

พลูหลวง (ประยูร อุลุชาฎะ). (2546). 7 ความเชื่อของไทย (คติสยาม). กรุงเทพฯ: เมือง

โบราณ.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2556). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2554. กรุงเทพฯ:

ราชบัณฑิตยสถาน.

วันชัย สุพรรณ. (วิทยากรรับเชิญ). (16 ธันวาคม 2561). คุณพระช่วย. [รายการโทรทัศน์].

กรุงเทพฯ: สถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์.

เสมา ท่าพระ. (2545). สุดยอดเครื่องรางของขลังเมืองสยาม. กรุงเทพฯ: แสงดาว.

ปรีชา ช่อง 3 ทีวีออนไลน์. (2561). นครพนม-ชาวบ้านห้อยหุ่นฟางพ่วงปลัดขิกป้องกันผี

แม่ม่าย. สืบค้นเมื่อ 10 พฤษภาคม, 2564, จาก

http://news.ch3thailand.com/local/63781

เทวสถาน. (2564). ประวัติศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู. สืบค้นเมื่อ 9 พฤษภาคม, 2564,

จาก http://www.devasthan.org/newweb/ประวัติศาสนา

ไทยรัฐออนไลน์. (2554). นางงาม เวที 'เล่นของ' แห่งชาติ. สืบค้นเมื่อ 10 พฤษภาคม,

, จาก http://thairath.co.th/content/104830

พระไตรปิฎกฉบับหลวง. (2560). สามัญญผลสูตร. สืบค้นเมื่อ 9 พฤษภาคม, 2564, จาก

https://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=9&A=1072&Z=1919

พิทยา บุนนาค. (2560). ปลัดขิกและองคชาต. สืบค้นเมื่อ 1 พฤษภาคม, 2564, จาก

https://www.silpa-mag.com/history/article_9760

ภุชงค์ จันทวิช. (2562). ตำนานปลัดขิก. สืบค้นเมื่อ 10 พฤษภาคม, 2564, จาก

https://www.youtube.com/watch?v=igcP-rYrBP4&t=6s

สารานุกรมเสรี วิกิพีเดีย. (2564). อุปนิษัท. สืบค้นเมื่อ 8 พฤษภาคม, 2564, จาก

https://th.wikipedia.org/wiki/อุปนิษัท

สำนักงานราชบัณฑิตยสภา. (2556). ปลัดขิก. สืบค้นเมื่อ 1 พฤษภาคม, 2564, จาก

http://legacy.orst.go.th/?knowledges=ปลัดขิก-2-กรกฎาคม-2556