ทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาในช่วงการแพร่ระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 ที่ส่งผลต่อการจัดสภาพแวดล้อม ในสถานศึกษาของโรงเรียนในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในจังหวัดชลบุรี

Main Article Content

น้ำฝน พิทักษ์โรจนกุล
สมศักดิ์ เอี่ยมคงสี

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 2) เพื่อศึกษาการจัดสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาของโรงเรียนในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดชลบุรี 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 กับการจัดสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาของโรงเรียนในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดชลบุรี และ 4) เพื่อศึกษาทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ที่ร่วมกันทำนายการจัดสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาของโรงเรียนในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดชลบุรี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือรองผู้อำนวยการสถานศึกษาและครูผู้สอน โรงเรียนในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดชลบุรี ปีการศึกษา 2564 จำนวน 330 คน กำหนดขนาดตัวอย่างโดยใช้ตารางกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างของเครจซี่และมอร์แกน ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามแบบมาตราประมาณค่า มีค่าความเชื่อมั่นสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค เท่ากับ 0.99 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษาวิจัยพบว่า 1) ระดับทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก 2) ระดับการจัดสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาของโรงเรียนในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดชลบุรี โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก 3) ความสัมพันธ์ระหว่างทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 กับการจัดสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาของโรงเรียนในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดชลบุรี โดยภาพรวมและรายด้าน พบว่า มีความสัมพันธ์เชิงบวกอยู่ในระดับสูง (r มีค่าระหว่าง .819-.854) และ 4) ทักษะด้านมนุษย์สัมพันธ์ ทักษะทางเทคโนโลยีและการใช้ดิจิทัลและทักษะการบริหารจัดการองค์กร ส่งผลในทิศทางบวกต่อการจัดสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาของโรงเรียนในสังกัดองค์กรปกครองท้องถิ่นในจังหวัดชลบุรี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 และสามารถร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของการจัดสภาพแวดล้อมในสถานศึกษาของโรงเรียนในสังกัดองค์กรปกครองท้องถิ่นในจังหวัดชลบุรีได้ร้อยละ 79.8            


 

Article Details

บท
Research Articles
Author Biography

สมศักดิ์ เอี่ยมคงสี, มหาวิทยาลัยพะเยา

กระทรวงศึกษาธิการและองค์การยูนิเซฟ. (2563). แนวทางปฏิบัติสำหรับสถานศึกษา เพื่อ

ป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 (COVID-19). สืบค้นจากhttp://www.oic.go.th/FILEWEB/CABINFOCENTER17/DRAWER002/GENERAL/

กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2563). คู่มือการปฏิบัติสำหรับสถานศึกษาในการป้องกัน

การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19. สืบค้น https://www.pidst.or.th/A907.html

ชัยชนะ มิตรพันธ์. (2563). ปรับไลฟ์สไตล์ชีวิตใหม่รับ new normal หลังวิกฤตโควิด-19.

สืบค้นเมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน 2564 จาก https://www.etda.or.th/th/Useful-Resource/knowledge-sharing/articles/New-Normal- Lifestyle.aspx

โชษิตา ศิริมั่น. (2564). ทักษะการบริหารสถานศึกษาของผู้บริหารในภาวะวิกฤตโควิด-19

ของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 31 การ

ประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 8: เรื่อง สู่ชีวิตวิถีใหม่ด้วยงานวิจัยทางสุขภาพและ

บริการ,นครราชสีมา, ประเทศไทย
นฤนาด เชิดแสง. (2558). การศึกษาการจัดสภาพแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ของโรงเรียนสังกัด

เทศบาลจังหวัดสุราษฎร์ธานี. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
ปัทมา ประทุมสุวรรณ. (2562). ทักษะการบริหารในศตวรรษที่ 21ของผู้บริหารสถานศึกษา

ขั้นพื้นฐานที่ส่งผลต่อประสิทธิผลโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 2. บัณฑิตวิทยาลัย :มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.

ปัทมาวดี อุดแดง (2555). ปัจจัยสภาพแวดล้อมในการทำงานที่ส่งผลต่อความเครียดของครู

โรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดเชียงใหม่. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยรามคำแหง
พรพิมล แก้วอุทัศน์. (2563). ทักษะการบริหารในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารสถานศึกษา

สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3 ตามทัศนะของครู.

บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.
พรพิมล แก้วอุทัศน์ และกานต์ เนตรกลาง. (2564). ทักษะการบริหารในศตวรรษที่ 21 ของ

ผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3

ตามทัศนะของครู. วารสารวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 12(1),126.
มณฑาพิทย์ นามนุ. (2561). ทักษะของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 สำนักงานเขต

พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2.  บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัย

เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
รัตนา กาญจนพันธุ์. (2563). การบริหารสถานศึกษาในสถานการณ์วิกฤตไวรัสโคโรนา 2019

(COVIC-19).วารสารดุษฎีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์, 10(3), 545-556.

วิลาวัลย์  คลังกลาง. (2560). ทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัด

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 4. บัณฑิตวิทยาลัย :

มหาวิทยาลัยปทุมธานี.
ศศิธร ขันติธรางกูร. (2551). การจัดการชั้นเรียนของครูมืออาชีพ.วารสารครุศาสตร์,1(2), 88.

สุณิสา แพทย์พิพัฒน์ และธีรังกูร วรบำรุงกุล. (2563). ทักษะของผู้บริหารสถานศึกษาใน

ศตวรรษที่ 21 ที่ส่งผลต่อชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 39(4), 119-129.

 สุทธิรัตน์ แช่มช้อย โสภณ เพ็ชรพวง และสถาพร สังข์ขาวสุทธิรักษ์. (2562). ความสัมพันธ์

ระหว่างกระบวนการบริหารงานโรงเรียนกับประสิทธิผลของการจัดสภาพแวดล้อมใน

โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ชุมพร เขต 1. วารสารนาค

บุตรปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช, 11(1), 119-129.
สุภาวดี ทองสำฤทธิ์. (2561). การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในสถานศึกษาตาม

ความคิดเห็นของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี

เขต 1. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.

สุวนิดา อัญจิรเวโรจน์. (2563). ทักษะการบริหารงานของผู้บริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิผล

โรงเรียนมาตรฐานสากลของโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

มัธยมศึกษา เขต 4 อำเภอเมืองปทุมธานี. วารสาร “ศึกษาศาสตร์ มมร” คณะ

ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 8(1), 13-25.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2563). นโยบายสำนักงานคณะกรรมการ

การศึกษาขั้นพื้นฐานปีงบประมาณ พ.ศ.2563. สืบค้นเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน 2564 จาก https://www.ocsc.go.th/DLProject/mean-dlp

อำนวย พลรักษา. (2556). ทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัด

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่นเขต 2. บัณฑิตวิทยาลัย :

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
Krejcie, R. V. & Morgan, D. W. (1970). Determining Sample Size for Research

Activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3), pp. 607-

610.

 

References

กระทรวงศึกษาธิการและองค์การยูนิเซฟ. (2563). แนวทางปฏิบัติสำหรับสถานศึกษา เพื่อ

ป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 (COVID-19). สืบค้นจากhttp://www.oic.go.th/FILEWEB/CABINFOCENTER17/DRAWER002/GENERAL/

กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2563). คู่มือการปฏิบัติสำหรับสถานศึกษาในการป้องกัน

การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19. สืบค้น https://www.pidst.or.th/A907.html

ชัยชนะ มิตรพันธ์. (2563). ปรับไลฟ์สไตล์ชีวิตใหม่รับ new normal หลังวิกฤตโควิด-19.

สืบค้นเมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน 2564 จาก https://www.etda.or.th/th/Useful-Resource/knowledge-sharing/articles/New-Normal- Lifestyle.aspx

โชษิตา ศิริมั่น. (2564). ทักษะการบริหารสถานศึกษาของผู้บริหารในภาวะวิกฤตโควิด-19

ของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 31 การ

ประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 8: เรื่อง สู่ชีวิตวิถีใหม่ด้วยงานวิจัยทางสุขภาพและ

บริการ,นครราชสีมา, ประเทศไทย

นฤนาด เชิดแสง. (2558). การศึกษาการจัดสภาพแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ของโรงเรียนสังกัด

เทศบาลจังหวัดสุราษฎร์ธานี. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.

ปัทมา ประทุมสุวรรณ. (2562). ทักษะการบริหารในศตวรรษที่ 21ของผู้บริหารสถานศึกษา

ขั้นพื้นฐานที่ส่งผลต่อประสิทธิผลโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 2. บัณฑิตวิทยาลัย :มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.

ปัทมาวดี อุดแดง (2555). ปัจจัยสภาพแวดล้อมในการทำงานที่ส่งผลต่อความเครียดของครู

โรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดเชียงใหม่. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยรามคำแหง

พรพิมล แก้วอุทัศน์. (2563). ทักษะการบริหารในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารสถานศึกษา

สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3 ตามทัศนะของครู.

บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.

พรพิมล แก้วอุทัศน์ และกานต์ เนตรกลาง. (2564). ทักษะการบริหารในศตวรรษที่ 21 ของ

ผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3

ตามทัศนะของครู. วารสารวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 12(1),126.

มณฑาพิทย์ นามนุ. (2561). ทักษะของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 สำนักงานเขต

พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัย

เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

รัตนา กาญจนพันธุ์. (2563). การบริหารสถานศึกษาในสถานการณ์วิกฤตไวรัสโคโรนา 2019

(COVIC-19).วารสารดุษฎีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์, 10(3), 545-556.

วิลาวัลย์ คลังกลาง. (2560). ทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัด

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 4. บัณฑิตวิทยาลัย :

มหาวิทยาลัยปทุมธานี.

ศศิธร ขันติธรางกูร. (2551). การจัดการชั้นเรียนของครูมืออาชีพ.วารสารครุศาสตร์,1(2), 88.

สุณิสา แพทย์พิพัฒน์ และธีรังกูร วรบำรุงกุล. (2563). ทักษะของผู้บริหารสถานศึกษาใน

ศตวรรษที่ 21 ที่ส่งผลต่อชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 39(4), 119-129.

สุทธิรัตน์ แช่มช้อย โสภณ เพ็ชรพวง และสถาพร สังข์ขาวสุทธิรักษ์. (2562). ความสัมพันธ์

ระหว่างกระบวนการบริหารงานโรงเรียนกับประสิทธิผลของการจัดสภาพแวดล้อมใน

โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ชุมพร เขต 1. วารสารนาค

บุตรปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช, 11(1), 119-129.

สุภาวดี ทองสำฤทธิ์. (2561). การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในสถานศึกษาตาม

ความคิดเห็นของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี

เขต 1. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.

สุวนิดา อัญจิรเวโรจน์. (2563). ทักษะการบริหารงานของผู้บริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิผล

โรงเรียนมาตรฐานสากลของโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

มัธยมศึกษา เขต 4 อำเภอเมืองปทุมธานี. วารสาร “ศึกษาศาสตร์ มมร” คณะ

ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 8(1), 13-25.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2563). นโยบายสำนักงานคณะกรรมการ

การศึกษาขั้นพื้นฐานปีงบประมาณ พ.ศ.2563. สืบค้นเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน 2564 จาก https://www.ocsc.go.th/DLProject/mean-dlp

อำนวย พลรักษา. (2556). ทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัด

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่นเขต 2. บัณฑิตวิทยาลัย :

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

Krejcie, R. V. & Morgan, D. W. (1970). Determining Sample Size for Research

Activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3), pp. 607-