พฤติกรรมผู้บริโภคและความตั้งใจซื้อสินค้าออนไลน์

Main Article Content

ดวงตา อ่อนเวียง

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้เพื่อศึกษาระดับและความสัมพันธ์ของพฤติกรรมผู้บริโภคและความตั้งใจซื้อสินค้าออนไลน์ ในจังหวัดอุบลราชธานี ศรีสะเกษ และยโสธร โดยผู้วิจัยใช้แบบสอบถามจำนวน 28 ข้อเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมความเห็นของกลุ่มตัวอย่าง 400 คน สถิติที่ใช้วิเคราะห์ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความคลาดเคลื่อน One-Way ANOVA, MANOVA และ Correlation ผลวิจัยพบว่า ค่าเฉลี่ยของพฤติกรรมการสั่งซื้อสินค้าออนไลน์ของผู้บริโภคในจังหวัดอุบลราชธานี ศรีสะเกษ และยโสธรในภาพรวมและรายด้าน อยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ย 3.93 (SD = .64) ปัจจัยส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่างจำแนกตามเพศด้านความรอบรู้ในตัวเอง (Self-Efficacy) มีค่าเฉลี่ยไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีค่าทดสอบ t= 1.71 และมีนัยสำคัญสูงกว่า .05 (Sig= .142) ความไว้วางใจและการรับรู้ประโยชน์ที่มีค่าเฉลี่ยแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ F = 4.795 (Sig .000)

Article Details

บท
Research Articles

References

กิตติวัฒน์ จิตรวัตร (2561). ปัจจัยการซื้อสินค้าออนไลน์และคุณภาพเว็บไซต์ที่ส่งผลต่อการ

ตัดสินซื้อสินค้าจากเว็บไซต์ลาซาด้าของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานคร. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

ชัชวาล อรวงศ์ศุภทัต. (2554). ทฤษฎีของคุณภาพการให้บริการ. (ออนไลน์). สืบค้นจาก

http://www.tpa.or.th/writer/read_this_book_topic.php?pageid=4&bookID=1285&read=true&count=true. (วันที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563)

มติชน. (2563). เศรษฐกิจในยุคโรคระบาด-อดีตสู่ปัจจุบัน. มติชน. วันที่ 11 กันยายน 2563.

มติชน (2563). แบรนด์ดังพาเหรดจัดแคมเปญ11.11. มติชน. วันที่ 7 พฤศจิกายน 2563

มนัสนันทน์ วุฒิมหานนท์ (2556). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการซื้อค้าหรือบริการ

ของผู้บริโภคผ่านทางเว็บไซต์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัย

ธรรมศาสตร์.

มิ่งสรรพ์ ขาวสะอาด (2563). มนุษย์แพลตฟอร์ม. มติชน. วันที่ 7 สิงหาคม 2563.

วรัญญา โพธิ์ไพรทอง. (2556). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าจากร้านค้าออนไลน์.

บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สิริพล ตันติสันติสม. (2558). การสื่อสารทางการตลาดแบบบูรณาการที่มีผลต่อการตัดสินใจ

ซื้อสินค้าออนไลน์ของประชากรในเขตเทศบาลเมืองพิษณุโลก. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยนเรศวร

สุภาวรรณ ชัยทวีวุฒิกุล. 2555. พฤติกรรมการซื้อสินค้าและบริการออนไลน์แบบรวมกลุ่มกัน

ซื้อบนเว็บไซต์ ENSOGO ของลูกค้าในเขตกรุงเทพมหานคร. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (2560). ช้อปออนไลน์กระจาย e-Commerce

ประเทศไทย ปี 2560 มูลค่าแตะ 2.8 ล้านล้านบาท. สืบค้นจากhttps://brandinside.asia/value-ecommerce-thailand-2560/ 12/07/2020

Chang, M.K., Cheung, W., & Tang, M., 2013. Building trust online: interactions

among trust building mechanisms. Inf. Manag. 50 (7), 439-445

Gopal, R. & Jindoliya, D. (2016). “Consumer buying behavior towards online

shopping : a literature review “ . International Journal of Information Research and Review. Vol. 3, pp. 3385-3387.

Lewis, C. & Booms, B. (1983). The Marketing Aspects of Service Quality, In: Berry,

L.L., Shostack, G. and Upah, G., Eds., Emerging Perspectives in Service Marketing, American Marketing Association, Chicago, 1983, pp. 99-107.

Monsuwe, T.P., Dellaert, B.G.C., & Ritter, K.d. (2004). What drives consumers to

shop online? A literature review. International Journal of Service Industry Management, Vol. 15, pp.102-121.

Rasheed, F.A. & , Abadi, M.F., (2014). Impact of service quality. trust and

perceived value on customer loyalty in Malaysia services industry. Procedia - Soc. Behavior. Sci. 164,298-304.

Shiau, W.L. & Luo, M.M. (2012). Factors affecting online group buying intention

and satisfaction: A social exchange theory perspective. Computers in Human Behavior 28(6):2431–2444