ไตรสิกขา : ศาสตร์แห่งการพัฒนาเส้นทางชีวิต

Main Article Content

พระครูภัทรจิตตาภรณ์

บทคัดย่อ

การพัฒนาชีวิตของมนุษย์จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องอาศัยหลักธรรมไตรสิกขาที่เป็นพื้นฐานสำคัญในการพัฒนาเส้นทางชีวิตของตน ให้พบกับความรุ่งเรืองทั้งในด้านการงาน และการปฏิบัติธรรมให้ยิ่งขึ้นไป พัฒนาเส้นทางชีวิตอย่างสันติวิธี การฝึกฝนพัฒนาตนเองควบคุมพฤติกรรมตนเองไปในที่ดีงามทั้งด้านกาย วาจา และใจ ตามหลักไตรสิกขามีแนวทางการปฏิบัติ 3 ประการ คือ 1) ศีล เป็นการฝึกฝนพัฒนาพฤติกรรมของมนุษย์ด้านกายและวาจา 2) สมาธิ เป็นการฝึกด้านคุณธรรม และสมรรถภาพของจิต 3) ปัญญา เป็นการฝึกให้เกิดความรู้ ความเข้าใจของสิ่งทั้งหลายตามความเป็นจริง และเป็นศาสตร์แห่งการพัฒนาที่จะส่งผลให้มนุษย์มีความสมบูรณ์


 

Article Details

บท
Articles

References

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539).พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลง

กรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระพรหมคุณาภรณ์.(2551). เล่าเรียน-ทำงานกันไป ชีวิตได้อะไร. พิมพ์ครั้งที่ 41. นครปฐม : จ.เจริญอินเตอร์พริ้น (ประเทศไทย).

พระอุปติสสเถระ.(2548). วิมุตติมรรค. แปลโดย พระเทพโสภณ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต) และ คณะ. กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระเทพโสภณ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต).(2546). ทิศทางการศึกษาไทย. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พุทธทาสภิกขุ.(2549). การศึกษาสมบูรณ์แบบ:คือวงกลมที่คุ้มครองโลกถึงที่สุด. กรุงเทพมหานคร : อุษาการพิมพ์.