พุทธจริยศาสตร์กับการพัฒนาพลเมืองที่เข้มแข็ง

Main Article Content

บุญวัฒน์ บุญทะวงศ์

บทคัดย่อ

พลเมืองที่เข้มแข็งมีความสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งในการพัฒนาประเทศ เพราะพลเมืองที่เข้มแข็ง ย่อมทำให้สังคมเข้มแข็งไปด้วย พุทธจริยศาสตร์เน้นพัฒนาให้มนุษย์มีความเข้มแข็งทั้งด้านความเชื่อมั่น ความเพียร ความรู้ตัว ความมีสมาธิ และปัญญา โดยการพัฒนาพฤติกรรม จิตใจและปัญญาควบคู่กัน บนหลักการพัฒนา 3 หลักการได้แก่ ศีล  สมาธิ และปัญญา เพื่อให้พลเมืองไทยมีอัตลักษณ์คือ เทิดทูนชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ เคารพผู้อาวุโส เสียสละ ปฏิบัติตามกฎหมาย ปฏิบัติตามคำสอนของศาสนาที่ตนนับถือ ภูมิใจไทยความเป็นไทย และซื่อสัตย์ หากพลเมืองไทยมีความเข้มแข็งทั้งด้านพฤติกรรม จิตใจ และปัญญา ก็จะทำให้สังคมไทยมีความเจริญก้าวหน้าไปด้วย

Article Details

บท
Articles

References

กรมสรรพากร.(2565). พระบรมราโชวาท.สืบค้นเมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2565 จาก

https://www.rd.go.th.

คูณ โทขันธ์.(2545).พุทธศาสนากับสังคมและวัฒนธรรมไทย.กรุงเทพฯ:โอเดียนสโตร์.

ธเนศวร์ เจริญเมือง.(2551). พลเมืองที่เข้มแข็ง. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์วิภาษา.

พระเทพเวที (ป.อ.ปยุตฺโต).(2535).พจนานุกรมพุทธศาสตร์.กรุงเทพฯ :มหาจุฬาลงกรณราช

วิทยาลัย.

พระราชวรมุนี (ประยุทธ์ ปยุตฺโต) (2528).พจนานุกรมพุทธศาสตร์ฉบับประมวลธรรม.

กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.(2539).พระไตรปิฎกภาษาไทยฉบับมหาจุฬาลงกรณราช

วิทยาลัย. กรุงเทพฯ :โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์, (ป.อ.ปยุตฺโต). (2561). การพัฒนาที่ยั่งยืน. นครปฐม :วัดญาณ

เวศกวัน.

สมบัติ ธำรงธัญวงศ์.(2549). การเมืองไทย. กรุงเทพฯ:สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.(2555).พลเมืองในระบอบประชาธิปไตย.กรุงเทพฯ:

สำนักการพิมพ์ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.

หลวงพ่อเทียน จิตฺตสุโภ. (2544). แด่เธอผู้รู้สึกตัว. ขอนแก่น : โรงพิมพ์เพ็ญพริ้นติ้ง จำกัด.