การปฏิบัติเพื่อความมีจิตว่าง

Main Article Content

พระครูอรัญธรรมมากร พฺรหฺมสโร
พระมหามิตร ฐิตปญโญ

บทคัดย่อ

การปฏิบัติ เพื่อความมีจิตว่าง มีเนื้อหาที่อธิบายถึงหลักปฏิบัติตลอดทั้งหลักธรรมคำสอนทางพระพุทธศาสนาและใช้ศัพท์ที่เข้าจ่ายต่อผู้ที่อ่าน ซึ่งในหนังสือเล่มนี้มีประเด็นหลักอยู่ 2 คือ การปฏิบัติเพื่อความมีจิตว่าง และฤทธิ์-ปาฏิหาริย์ โดยการอธิบายถึงหลักการปฏิบัติเพื่อความมีจิตว่างนั้น ท่านพุทธทาสภิกขุจะมุ่งเน้นไปที่การฝึกจิตของตนให้พิจารณา โดยมี 10 ระดับ คือ กำหนดโดยความเป็นอารมณ์ กำหนดโดยความเป็นรูปนาม กำหนดโดยความเกิดดับ กำหนดโดยอนิจจัง กำหนดโดยทุกขัง กำหนดโดยความเป็นอนัตตา กำหนดโดยวิราคะ กำหนดโดยนิโรธะ กำหนดโดยปฏินิสัคคะ กำหนดโดยสูญตา ซึ่งจะมุ่งเน้นไปที่การฝึกจิตให้ว่างจากความมีตัวตนและเป็นไปเพื่อจุดหมายสูงสุด คือ พระนิพพาน


 

Article Details

บท
book review
Author Biography

พระมหามิตร ฐิตปญโญ, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

Mahachulalongkornrajavidyalaya University

References

พระธรรมธีรราชมหามุนี (โชดก ญาณสิทฺธิ ป.ธ.9). (2531), หลักปฏิบัติสมถะ วิปัสสนา

กรรมฐาน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,

พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตโต). (2543), จารึกบุญจารึกธรรม. กรุงเทพฯ: บริษัท สหธรรมิก

จํากัด.

พระราชสุทธิญาณมงคล (จรัญ ฐิตธมฺโม). (2530), กฎแห่งกรรม.ธรรมปฏิบัติ เล่ม 1.

กรุงเทพฯ: หอรัตนชัยการพิมพ์.

พุทธทาสภิกขุ. (2548), การปฏิบัติ เพื่อความมีจิตว่าง. กรุงเทพฯ: ไพลินบุ๊คเน็ต จำกัด.

ศูนย์ปฏิบัติธรรมธรรมโมลี. การปฏิบัติตนหลังการปฏิบัติธรรม. ออนไลน์ :

http://www.dhammamolee.org/การปฏิบัติตนหลังการปฏิบัติธรรม

หลวงพ่อเทียน จิตฺตสุโภ. (2527), แด่เธอผู้รู้สึกตัว. กรุงเทพฯ: จักรานุกุลการพิมพ์.