มหาวิทยาลัยสงฆ์กับนวัตกรรมการจัดการห้องเรียนในศตวรรษที่ 21

##plugins.themes.bootstrap3.article.main##

วิรัตน์ ทองภู
พันทิวา ทับภูมี
สริญญา มารศรี

摘要

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแนวคิดและเพื่อนำเสนอแนวทางการจัดการเรียนรู้เพื่อผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ของมหาวิทยาลัยสงฆ์ซึ่งจำเป็นต้องนำนวัตกรรมทางเทคโนโลยีมาใช้เป็นเครื่องมือในการจัดการห้องเรียนมากยิ่งขึ้น เพื่อสร้างแรงจูงใจให้ผู้เรียนตอบสนองความต้องการของผู้เรียนที่มีระดับความเร็วในการเรียนรู้ที่แตกต่างกัน สร้างโอกาสให้ผู้เรียนในการเข้าถึงการศึกษาอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม อีกทั้งอำนวยความสะดวกให้แก่ผู้เรียนทุกกลุ่ม ดังนั้นนวัตกรรมการจัดการห้องเรียนในอนาคตจึงควรให้ความสนใจกับการนำแนวคิดทางอิเล็กทรอนิกส์มาใช้ในการจัดการห้องเรียนที่สำคัญ ได้แก่ การจัดการห้องเรียนเสมือน  (Virtual classroom) การจัดการห้องเรียนอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic classroom) ในรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับทาง (Flipped room)

##plugins.themes.bootstrap3.article.details##

栏目
Articles
##submission.authorBiographies##

##submission.authorWithAffiliation##

Mahaculalongkornrajavidyalaya University

##submission.authorWithAffiliation##

Mahaculalongkornrajavidyalaya University

参考

บุญเกื้อ ควรหาเวช. (2554). นวัตกรรมการศึกษา. Online Available:

http://www.st.ac.th/av/inno_eclass.htm.

พระมหาหรรษา นิธิบุณยากร. (2557). พระพุทธศาสนากับวิทยาการสมัยใหม่.

พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

มนตรี แย้มกสิกร. (2554). แนวคิดเกี่ยวกับห้องเรียนเสมือน. Online available:

http://www.csjoy.com/storynet/vclass.htm.

มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (2554). การจัดห้องเรียนเสมือนจริง (Virtual Classroom Online)

Online Available: http://std.kku.ac.th/4974500126/sara5.html.

วิจารณ์ พานิช. (2556). อาจารย์ผู้สอนเพื่อศิษย์สร้างห้องเรียนกลับทาง. พิมพ์ครั้งที่ 2.

กรุงเทพฯ: บริษัท เอส.อาร์.พริ้นติ้ง แมสโปรดักส์ จำกัด.

อุทัย ภิรมย์รื่น (2540). โฉมหน้ามหาวิทยาลัยในศตวรรษที่ 21. สารศรีปทุม. (กุมภาพันธ์ –

พฤษภาคม). 21-30.

Partnership for 21st Century Skills-P21. (2011). Framework for 21st Century

Learning. Online available: http://www.p21.org.