การจัดการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษาตามแนวพุทธในมหาวิทยาลัยราชภัฏ

Main Article Content

อำนวยพร โฮมจูมจัง
พรรณี มัวร์

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแนวคิด และเพื่อนำเสนอแนวทางการจัดการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษาตามแนวพุทธในมหาวิทยาลัยราชภัฏซึ่งมีความสำคัญอย่างยิ่งในการพัฒนาสมรรถนะของผู้เรียนให้สามารถเรียนรู้เกี่ยวกับวิชาสังคมศึกษาตามแนวพุทธ สามารถนำเอาความรู้ความเข้าใจไปปรับใช้ให้เข้ากับสภาพสังคมได้อย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับเจตนารมณ์เพื่อการจัดการศึกษาวิชาสังคมศึกษา เพื่อเป้าหมายในการสร้างคนให้เป็นผู้มีความรู้และประพฤติตนในทางที่ดี (ภูมิรู้ ภูมิธรรม) การจัดการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษาตามแนวพุทธในมหาวิทยาลัยราชภัฏ มีดังนี้ (1) ส่งเสริมคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษา (2) การสร้างทักษะ 3R 8C สำหรับผู้เรียน (3) การเสริมทักษะ C- Teacher สำหรับผู้สอน (4) การบูรณาการ 6 ทฤษฎีกับการจัดการเรียนรู้ และ (5) การบูรณาการกับพุทธวิธีการสอน

Article Details

บท
Articles
Author Biography

พรรณี มัวร์, มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ

Chaiyaphum Rajabhat University

References

กนก จันทร์ทอง.(2560). การสอนสังคมศึกษาในศตวรรษที่ 21.วารสารวิทยบริการ

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, ปีที่ 28 ฉบับที่ 2.

จินตนา ใบกาซูยี.(2536). การเขียนสื่อการเรียนการสอน, กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์สุวิริยสาสน์.

ดวงกมล ไตรวิจิตรคุณ, (2546). ปฏิรูปการศึกษาการประเมินผลการเรียนรู้แนวใหม่,

กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,

ถนอมพร เลาหจรัสแสง.(2556).การเรียนรู้ในยุคสมัยหน้า:ตอนอนาคตผู้สอนไทยผู้สอนพันธุ์

C.เชียงใหม่ : สถานบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ทิศนา แขมมณี, (2550). ศาสตร์การสอน:องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการการเรียนรู้ที่มี

ประสิทธิภาพ, กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,

พระธรรมปิฏก (ป.อ. ปยุตฺโต), (2543). ธรรมะกับการทำงาน, พิมพ์ครั้งที่ 3, กรุงเทพฯ :

สุขภาพใจ,

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต).(2557).พุทธวิธีในการสอน.กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์

Medabooks เกษม แสงนนท์.

พระราชบัญญัติการอุดมศึกษา พ.ศ.2562. (2562, 1 พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เลมที่

ตอนที่ 57 ก หนา 54 – 78

พิมพ์พันธ์ เตชะคุปต์และพเยาว์ ยินดีสขุ, (2548). ทักษะ 5C เพี่อการพัฒนาหน่วยการเรียนรู้

และการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่ง

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,

ราชกิจจานุเบกษา, พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553, เล่มที่ 127,

ตอนที่ 45 ก.

สนอง วรอุไร.(2550).ทำชีวิตให้ได้ดีและมีสุข,พิมพ์ครั้งที่ 10, กรุงเทพฯ :สำนักพิมพ์อัมรินทร์.

สมชาย วรกิจเกษมสกุล.(2554). สถิติประยุกต์สำหรับการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และ

สังคมศาสตร์, อุดรธานี : คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.

สันติ งามเสริฐ.(2563).วารสารสหศาสตร์, ปีที่ 20 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน).

สุมน อมรวิวัฒน์.(2544). หลักบูรณาการทางการศึกษาตามแนวพุทธธรรม, โครงการกิตติเมธี

สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, นนทบุรี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

สำนักงานคณะกรรมการการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.(2559).แผนพัฒนาเศรษฐกิจ

และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564), กรุงเทพฯ : สำนัก

นายกรัฐมนตรี, 2559.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.(2542).พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.

กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.

______.(2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2545),

กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์อัมรินทร์พริ้นติ้ง, 2545.

สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2579,

กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.

สำนักมาตรฐานและประเมินผลอุดมศึกษา.(2561). แนวทางการส่งเสริมคุณภาพการจัดการ

เรียนการสอนของอาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษา. กรุงเทพฯ : ภาพพิมพ์.

สํานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรม

ราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี. (2557). คู่มือการจัดระบบการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนระดับอุดมศึกษาเป็นสำคัญ.ปทุมธานี : สํานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน.

Stacy Jagodowski.(2019).The 6 Most Important Theories of Teaching. (Online)

https://www.thoughtco.com/theories-of-teaching-4164514