การประยุกต์ใช้บอร์ดเกมการศึกษากับเด็กที่มีความบกพร่องทางสมาธิ
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้นำเสนอการประยุกต์ใช้บอร์ดเกมการศึกษา (educational board game) กับเด็กที่มีความบกพร่องทางสมาธิ โดยแบ่งการนำเสนอเนื้อหาตามลำดับ ได้แก่ 1) แนวคิดเกี่ยวกับบอร์ดเกมการศึกษา 2) เด็กที่มีความบกพร่องทางสมาธิ และ 3) การประยุกต์ใช้บอร์ดเกมการศึกษากับเด็กที่มีความบกพร่องทางสมาธิ เนื่องจากที่มีความบกพร่องทางสมาธิมีปัญหาในการจัดการสมาธิในชั้นเรียน และไม่สามารถเรียนรู้ทักษะต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้เป็นเด็กมีปัญหาด้านการเรียนในห้องเรียน บทความวิชาการนี้อธิบายถึงความเชื่อมโยงสัมพันธ์ระหว่างบอร์ดเกมการศึกษา เพื่อการประยุกต์ใช้ในเด็กที่มีความบกพร่องทางสมาธิ โดยข้อมูลทั้งสองประเภทเป็นไปในทิศทางเดียวกัน สอดคล้องกัน ทำให้เกิดข้อค้นพบใหม่ เพื่อให้ผู้สอนสามารถพัฒนาเด็กที่มีความบกพร่องทางสมาธิด้วยบอร์ดเกม รวมไปถึงการสะท้อนความคิดเพื่อนำไปต่อยอดในอื่นต่างๆ
Article Details
References
กมลพจน์ เริ่มคิดการณ์ และวสุนันท์ ชุ่มเชื้อ (2563). ผลของเกมกระดานสำหรับครอบครัว
ต่อการเพิ่มสมาธิและลดพฤติกรรม ขาดสมาธิ ไม่อยู่นิ่ง และหุนหัน ในเด็กโรคสมาธิสั้น. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 64(3): 217-234.
จุมพล เหมะคีรินทร์. (2558, พฤศจิกายน). เมื่อบอร์ดเกมไทยก้าวสู่เวทีประกวดนวัตกรรม
สิ่งพิมพ์ระดับโลก. สาระวิทย์, (38)1: 3-6.
สุชาติ แสนพิช. การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยใช้เกมออนไลน์เพื่อพัฒนาทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์. Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ, (8)2: 1413-1426.
สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดกาฬสินธุ์. (2563). รายงานผลการดำเนินงาน โครงการ TFE
(Teams for Education) ประจำปีงบประมาณ 2563 สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ: กรุงเทพฯ.
อรรถเศรษฐ ปรีดากรณ์. (2557). การออกแบบบอร์ดเกมการศึกษา เรื่อง วงสีธรรมชาติ
สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. บัณฑิตวิทยาลัย :มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ.
Blasco-Fontecilla H., Gonzalez-Perez M., Garcia-Lopez R., Poza-Cano B., Perez-
Moreno MR., de Leon-Ma V. and Otero-Perez J. (2016). Efficacy of
chess training for the treatment of ADHD: a prospective, open label
study. Revista de Psiquiatria y Salud Mental, (9)1: 13-21.
Center on the Developing Child. (2011). Enhancing and Practicing Executive
Function Skills with Children from Infancy to Adolescence. Harvard University, Massachusetts.
Coil, D., Ettinger, C., and Eisen, J. (2017). Gut Check: The evolution of an
educational board game. PLOS BIOLOGY.
Kim S.H., Han D.H., Lee Y.S., Kim B.N., Cheong J.H., Han S.H., (2014). Baduk (the
game of go) improved cognitive function and brain activity in children with attention deficit hyperactivity disorder. Journal of Psychiatry Investigation, 11(2): 143–51.
Mostowfi S. et al., (2016). Designing playful learning by using educational
board game for children in the age range of 7–12: (A case study: Recycling and waste separation education board game). International journal of environmental & science education, (11)12: 5453-5746.
Sickel A. L. (2013). Enhancing parent-child attachment aboard game for
families during foster care. (Doctoral dissertation). Azusa Pacific University, California.
Estrada-Plana V. et al. (2019). A Pilot Study of the Efficacy of a Cognitive
Training Based on Board Games in Children with Attention-
Deficit/Hyperactivity Disorder: A Randomized Controlled Trial. Games for Health Journal, 8(4): 265-274.
Whittam, A. M., Chow, W. (2017). An educational board game for learning and
teaching burn care: A preliminary evaluation. Scars, Burns & Healing, (3)1: 1-5.
Center on the Developing Child. (2011). Enhancing and Practicing Executive
Function Skills with Children from Infancy to Adolescence. Harvard University, Massachusetts.