การสื่อสารทางการเมือง

Main Article Content

พระสังวาน เขมปญฺโญ (สายเนตร)
พระสิริชัย ธมฺมจาโร (สายสิงห์)
สมนึก จันทร์โสดา
ศราวุธ ขันธวิชัย

บทคัดย่อ

ช่องทางการสื่อสารทางการเมือง มีองค์ประกอบด้วยสถาบันทางการเมืองต่างๆเช่น พรรคการเมือง กลุ่มผลประโยชน์ ระบบราชการ หรือกลุ่มมวลชนอื่นๆที่สามารถเชื่อมประชาชนเข้ากับผู้นําได้ ซึ่งองค์กรเหล่านี้ อาจมีโครงสร้างที่ถาวร หรือกึ่งถาวรก็ได้และอาจไม่จําเป็นที่จะต้องทําหน้าที่ติดต่อกัน ด้วยช่องทางการสื่อสารที่หลากหลาย แนวทางพัฒนาบทบาทสื่อมวลชนเพื่อการส่งเสริมการมีส่วนร่วมทางการเมืองสำหรับแนวทางพัฒนาสื่อมวลชนควรจะเริ่มต้นจากด้านการบริหารจัดการภายในองค์กรที่เกี่ยวข้อง โดยองค์กรสื่อมวลชนควรจะต้องเป็นอิสระจากรัฐบาล ไม่ตกอยู่ภายใต้อำนาจทุนเจ้าของสื่อหรือทุนทางการเมือง มีการพัฒนาบุคลากรภายในองค์กร ให้มีความรู้ความสามารถ ในงานข่าวสารทางการเมืองอยู่เสมอ และต้องยึดถือการทำเพื่อประโยชน์ของส่วนรวมเป็นหลัก และไม่ใช้เสรีภาพที่มีในการใช้ประโยชน์จากสื่อมวลชนในการปลุกระดม ใช้ความรุนแรง ด้วยการบิดเบือนข้อเท็จจริงขณะที่องค์กรวิชาชีพสื่อมวลชน จะต้องทำหน้าที่ กำกับดูแลเรื่องจรรยาบรรณ จริยธรรม คุณธรรมของสื่อมวลชน ด้วยการไม่ให้ร้ายผู้อื่น หรือละเมิดสิทธิของผู้อื่นที่ชัดเจน เพื่อคุ้มครองผู้เกี่ยวข้อง และมีความพร้อมที่จะตรวจสอบสื่ออย่างจริงจัง

Article Details

บท
Articles
Author Biographies

พระสิริชัย ธมฺมจาโร (สายสิงห์), มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

Mahachulalongkornrajavidyalaya University

สมนึก จันทร์โสดา , มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ช่องทางการสื่อสารทางการเมือง มีองค์ประกอบด้วยสถาบันทางการเมืองต่างๆเช่น พรรคการเมือง กลุ่มผลประโยชน์ ระบบราชการ หรือกลุ่มมวลชนอื่นๆที่สามารถเชื่อมประชาชนเข้ากับผู้นําได้ ซึ่งองค์กรเหล่านี้ อาจมีโครงสร้างที่ถาวร หรือกึ่งถาวรก็ได้และอาจไม่จําเป็นที่จะต้องทําหน้าที่ติดต่อกัน ด้วยช่องทางการสื่อสารที่หลากหลาย แนวทางพัฒนาบทบาทสื่อมวลชนเพื่อการส่งเสริมการมีส่วนร่วมทางการเมืองสำหรับแนวทางพัฒนาสื่อมวลชนควรจะเริ่มต้นจากด้านการบริหารจัดการภายในองค์กรที่เกี่ยวข้อง โดยองค์กรสื่อมวลชนควรจะต้องเป็นอิสระจากรัฐบาล ไม่ตกอยู่ภายใต้อำนาจทุนเจ้าของสื่อหรือทุนทางการเมือง มีการพัฒนาบุคลากรภายในองค์กร ให้มีความรู้ความสามารถ ในงานข่าวสารทางการเมืองอยู่เสมอ และต้องยึดถือการทำเพื่อประโยชน์ของส่วนรวมเป็นหลัก และไม่ใช้เสรีภาพที่มีในการใช้ประโยชน์จากสื่อมวลชนในการปลุกระดม ใช้ความรุนแรง ด้วยการบิดเบือนข้อเท็จจริงขณะที่องค์กรวิชาชีพสื่อมวลชน จะต้องทำหน้าที่ กำกับดูแลเรื่องจรรยาบรรณ จริยธรรม คุณธรรมของสื่อมวลชน ด้วยการไม่ให้ร้ายผู้อื่น หรือละเมิดสิทธิของผู้อื่นที่ชัดเจน เพื่อคุ้มครองผู้เกี่ยวข้อง และมีความพร้อมที่จะตรวจสอบสื่ออย่างจริงจัง

ศราวุธ ขันธวิชัย, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

Mahachulalongkornrajavidyalaya University

References

เสรี วงษ์มณฑา, (2537), การประยุกต์ทฤษฎีในการสื่อสาร หลักและทฤษฎีการสื่อสาร กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

Almond และ Powell, อ้างใน เจตน์ศักดิ์ แสงสิงแก้ว, (2524),“ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการสื่อสารกับกระบวนการสังคมประกิตทางการเมืองของประชาชนในท้องที่บางชัน เขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร”, บัณฑิตวิทยาลัย : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Chaffee, อ้างใน บุณฑริกา เจี่ยงเพ็ชร์, (2540),“พฤติกรรมการสื่อสารทางการเมืองผ่านสื่อมวลชน สื่อบุคคล สื่อ พฤทธิสาณ ชุมพล, ระบบการเมือง: ความรู้เบื้องต้น (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Denton และ Woodward, อ้างใน Brian Mcnair, An Introduction to Political Communication (London:Routledge, 2003), p. 3.

Harold D.Lasswell, ÍéÒ§ã Dan Nimmo, Political Communication and Public Opinion in America (California : Goodyear Publishing Company, 1978), p. 10.

John V. Pavlik, “Social and Cultural Consequences”, New Media and The Information Superhighway (Massachusetts: A Simon & Schusster Company, 1996), p. 317.

Karl W. Deutsch อ้างใน อาคม สุวรรณกันทา, (2542),“การรายงานข่าวสืบสวนทางการเมืองในหนังสือพิมพ์ไทยและผลกระทบต่อการรับรู้ของสังคม”, บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

Lucian W. Pye, (2531) อ้างใน วัฒนา พุทธางกูรานนท์, สื่อสารมวลชนกับสังคม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.