การกล่อมเกลาทางสังคมกับการมีส่วนร่วมทางการเมือง ในเขตอำเภอเมืองอุบลราชธานี
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาการกล่อมเกลาทางสังคมของประชาชนในเขตอำเภอเมืองอุบลราชธานี (2) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขตอำเภอเมืองอุบลราชธานี และ (3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการกล่อมเกลาทางสังคมที่กับการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขตอำเภอเมืองอุบลราชธานี กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ประชาชนที่มีอายุ 18 ปีขึ้นไปในเขตอำเภอเมืองอุบลราชธานี จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ได้แก่แบบสอบถาม สถิติที่ใช้คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ผลการวิจัยพบว่า 1) การกล่อมทางสังคมของประชาชนในเขตอำเภอเมืองอุบลราชธานี โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดคือ กลุ่มเพื่อน รองลงมาคือ สถาบันการศึกษา และน้อยที่สุด คือ องค์กรศาสนา 2) การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขตอำเภอเมืองอุบลราชธานี โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดคือ การเป็นผู้สื่อสารทางการเมือง รองลงมาคือ การเข้าไปมีส่วนร่วมกับกิจกรรมของพรรคการเมือง และน้อยที่สุด คือ การไปลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง, การการเป็นผู้มีบทบาทในชุมชน และการติดต่อกับทางราชการ 3) การกล่อมเกลาทางสังคมกับการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขตอำเภอเมืองอุบลราชธานี มีความสัมพันธ์ไปในทิศทางเดียวกันในระดับน้อยถึงมากที่สุด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยมีค่า r ระหว่าง .451-.859
Article Details
References
กฤษชพลณ์ บุญครองและศิวัช ศรีโภคา. (2562). “นักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น กับความตื่นตัวทางการเมือง” วารสารด้านการบริหารรัฐกิจและการเมือง. 8(3), 94-119.
ถวิลวดี บุรีกุล และคณะ. (2557). การมีส่วนร่วมแนวคิด ทฤษฎีและกระบวนการ. กรุงเทพฯ: บริษัทพิมพ์ดี จำกัด.
ทินพันธ์ นาคะตะ. (2553). ประชาธิปไตยไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
ธีราพร ทวีธรรมเจริญ. (2563). “การเรียนรู้วิถีชุมชนจากแนวคิดในทฤษฎีโครงสร้างทางสังคมและทฤษฎีชุมชน. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ปีที่ 40 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม-มีนาคม 2563. หน้า 104-116.
นันทพัทธ์ ชัยโฆษิตภิรมย์. (2559). “การเมืองในชีวิตประจำวันของประชาชนในพื้นที่ชนบท กรณีศึกษา ในหมู่บ้านภาคกลางแห่งหนึ่ง”.วารสารสหวิทยาการวิจัย ฉบับบัณฑิตศึกษา, 5(1), 54-61.
นิศานาจ โสภาพล. (2559). “แนวคิดการเมืองที่ปรากฏในเรื่องสั้นรางวัลพานแว่นฟ้า”. วารสารมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี, 7(1), 195-207.
ปฬาณี ฐิติวัฒนา. (2564). การขัดเกลาทางสังคม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
เปรมศักดิ์ แก้วมรกฎ. (2561). “วัฒนธรรมการมีส่วนร่วมทางการเมืองของวัยรุ่น ในสังคมพหุวัฒนธรรม กรณีศึกษา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา”. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยธนบุรี, 12 ฉบับพิเศษ, 217-225.
พงษ์สวัสดิ์ อักษรสวาสดิ์. (2560). “สิทธิการมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิมในการอนุรักษ์และจัดการทรัพยากรธรรมชาติ”. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
พรศักดิ์ ผ่องแผ้ว และ สายทิพย์ สุคติพันธ์. (2556). การเมืองของเด็ก กระบวนการสังคมประกิตทางการเมือง. กรุงเทพฯ: เจ้าพระยาการพิมพ์.
พฤทธิสาน ชุมพล. (2557). ระบบการเมือง: ความรู้เบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 10 ฉบับปรับปรุงเพิ่มเติม. กรุงเทพฯ: โครงการตำราพื้นฐานคณะรัฐศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พิชาย รัตนดิลก ณ ภูเก็ต. (2561). ชนชั้นกับการเลือกตั้ง. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์วิภาษา.
ภูสิทธิ์ ขันติกุล. (2563). “รูปแบบการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนเขตดุสิต กรุงเทพมหานคร”. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา.
รังสิวุฒิ ชำนาญงาม. (2554). ). “การมีส่วนร่วมทางการเมืองท้องถิ่นของประชาชนในเขตเทศบาล ตำบลโนนเจริญ อำเภอบ้านกรวด จังหวัดบุรีรัมย์”. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์.
ลิขิต ธีรเวคิน. (2559). “การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนตามรัฐธรรมนูญ”. วารสารสถาบันพระปกเกล้า, 4(1)
วรรณธรรม กาญจนสุวรรณ. (2563). “กระบวนการจัดการชุมชนเข้มแข็ง: รูปแบบ ปัจจัยและตัวชี้วัด”. รัฐประศาสนศาสตร์. 8(2), หน้า 119-121.
วัลลภ ลำพาย. (2561). เทคนิควิจัยทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ศรัณยู หมั้นทรัพย์. (2561). การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง: ฐานรากของการเมืองภาคพลเมือง. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.
สถิติประชากร จังหวัดอุบลราชธานี. จำนวนประชากรที่มีสถิติเลือกตั้ง ปี พ.ศ. 2564. สืบค้นเมื่อวันที่ 2 มกราคม 2565 จาก http://www.ubondopa.com/detailone.aspx? id=15199
สัญญา สัญญาวิวัฒน์. (2560). ทฤษฎีสังคมวิทยา เนื้อหาและแนวการใช้ประโยชน์เบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 12. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สิรพัฒน์ ลาภจิตร. (2560). “ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจมีส่วนร่วมของประชาชนในการสนับสนุนการบริหารงานองค์การบริหารส่วนตำบล อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี”. บัณฑิตวิทยาลัย: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อรุณ จิรวัฒน์กุล. (2557). Statistics in analytical research. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
Akiva, T. Carey, R.L., Cross, A.B., Delale-O’Connor, I. & Brown, M.R. (2017). “Reasons youth engage in activism programs: social justice or sanctuary?” Journal of Applied Developmental Psychology, 53, 20-30.
Almond, G.A & Power, B.G. (1976). Comparative Politics Today: A World View. New York: Longman.
Almond, G.A., & Powell, B.G. (1980). Comparative political today. Boston: Little, Brown & Co.Ltd.
Barber, J. David. (1972). Citizen politics. Chicago: Markham.
Callahan, R.M. & Muller, O. (2013). Coming of political age: American schools and the civic development of immigrant youth. New York, Result Sage Foundation.
Craig, et al. (1990). The social psychology of organization. 2nd ed. New York: John Wiley & Sons.
Katanial & Javaid. (2017). Interviews: Learning the craft of qualitative research interviewing. [Online]: Available from: http://www.sagepub.com/books prodesec.nav?prodld=book226688.
Langton. (1969). Human relation in organization. Chicago : Irwin.
Letki N. (2003). “Explaining political participation in East-Central Europe: Social Capital, Democracy and the Communist Past. (No.381)”. Centre for the Study of Public Policy. University of Oxford .
McFarland, D. & Thomas, R. (2006). “Bowling young: How youth voluntary associations influence adult political participation”. American Sociological Review, 71(3), 401-425.
Milbrath, L.W. (1971). Political participation. New York: University of Buffalo Press.
Myron Wiener. (2001). “Political Participation : Crisis of the Political Process” in Crisis on Sequences in Political Development. Princeton: Princeton University Press.
Taro Yamane. (1973). Statistics: An Introductory Analysis. 3rd Ed. New York: Harper and Row.