การรับรู้ของประชาชนที่มีต่อลักษณะบุคลิกภาพของผู้นำท้องถิ่น

Main Article Content

พงศกรณ์ พิลาบุตร
อุดม กองตองกาย

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์วิจัยเพื่อศึกษาการรับรู้ของประชาชนที่มีต่อลักษณะบุคลิกภาพของผู้นำท้องถิ่น โดยผู้วิจัยพัฒนาแบบสอบถามขึ้นจากการทบทวนวรรณกรรม และนำไปรวบรวมความเห็นของประชาชนที่อาศัยอยู่ในจังหวัดอุบลราชธานีจำนวน 400 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ผลวิจัยพบว่า ประชาชนที่มีเพศต่างกันจะมีความเห็นเกี่ยวกับลักษณะบุคลิกภาพผู้นำท้องถิ่นไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และมีค่าทดสอบ t เท่ากับ .414 (Sig. 679) องค์ประกอบของลักษณะบุคลิกภาพผู้นำท้องถิ่นประกอบด้วย การเปิดรับ การแสดงความถูกต้อง ลักษณะสิ่งจูงใจภายนอก ความยินยอมเห็นใจ และความมีอารมณ์ไม่มั่นคง มีความสัมพันธ์ทั้งในเชิงบวกและในเชิงลบ จึงอาจสรุปได้ว่า การเปิดรับ การแสดงความถูกต้อง ลักษณะสนใจภายนอก และความยินยอมเห็นใจอันเป็นลักษณะบุคลิกภาพด้านบวกของผู้นำท้องถิ่นที่ประชาชนต้องการ

Article Details

บท
Research Articles
Author Biography

อุดม กองตองกาย, มหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น

The Eastern University of Management and Technology

References

กัญญ์สิริ จันทร์เจริญ. (2554). บทที่ 5 การกำหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง, https://www.ict.up.ac.th/surinthips/ResearchMethodology_2554....PDF

บุญศรี พรหมมาพันธุ์. (2561). เทคนิคการแปลผลการวิเคราะห์ข้อมูลสำหรับการใช้สหสัมพันธ์ และการถดถอยในการวิจัย, วารสารศึกษาศาสตร์ มสธ, 11(1), 32-45.

ประสพชัย พสุนนท์. (2557). ความเชื่อมั่นของแบบสอบถามในงานวิจัยเชิงปริมาณ, วารสารปาริชาต มหาวิทยาลัยทักษิณ, 27(1), 144-163.

วีระศักดิ์ จินารัตน์. (2564). ระเบียบวิธีวิจัยสมัยใหม่, พิมพ์ครั้งที่ 1; อุบลราชธานี, ยงสวัสดิ์ อินเตอร์กรุ๊ป จำกัด.

วีระศักดิ์ จินารัตน์. (2564). มาตรฐานงานวิจัยเชิงปริมาณและการพัฒนา, พิมพ์ครั้งที่ 1; อุบลราชธานี, ยงสวัสดิ์ อินเตอร์กรุ๊ป จำกัด.

สมบัติ ท้ายเรือคำ. (2558). การพัฒนาแบบสอบถามและแบบวัดทางจิตวิทยา, วารสารวิจัยเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม, 3(1), 35-48.

Benti M, Ebrahim J, Awoke T, Yohannis Z, & Bedaso A. (2016). Community

Perception towards Mental Illness among Residents of Gimbi Town, Western Ethiopia. Psychiatry J. 2016; 6740346.

DeYoung, C. G., Quilty, L. C., & Peterson, J. B. (2007). Between facets and

domains: 10 aspects of the big five. Journal of Personality and Social Psychology, 93(5), 880.

Denison, D.R., Hooijberg, R. and Quinn, R.E. (1995), "Paradox and performance:

toward a theory of behavioral complexity in managerial leadership", Organization Science, Vol. 6 No. 5, pp. 524-540.

Dynes, Adam M., Christopher F. Karpowitz, & J. Quin Monson. (2022). "How

Local Officials Respond to Expressions of Public Opinion." Paper presented at the Annual Meeting of the Midwest Political Science Association, Chicago IL, April 2022. Accessed 26,, March 2022 at http://adamdynes.com/ documents/WP_2022_dynes-etal_local-responsiveness.pdf

Dynes, A. M., Hassell, H. J. G., & Miles, M. R. (2019). The personality of the

politically ambitious. Political Behavior, 41(2), 309-336

Grose, C. R., Malhotra, N., & Van Houweling. R. P. (2015). Explaining

explanations: How legislators explain their policy positions and how citizens react. American Journal of Political Science, 59(3). 724-743.

Hall, M. E. K. (2018). What justices want: Goals and personality on the US

supreme court. Cambridge University Press

Ramey, A., Klingler, J., & Hollibaugh, G. E. (2017). More than a feeling:

personality, polarization, and the transformation of the US congress. University of Chicago Press

Meekham, N. (2020). ประโยชน์ 5 ข้อที่คุณจะได้จากการศึกษางานวิทยานิพนธ์, http://www.xn--12co8bkb4ccba6b3geffwj63b.com.

Pinyo, T. (2018). Techniques for interpreting the results of factors analysis in research work, Panyapiwat Journal, 10 Special issue, 292-304.

Wikipedia (2564). ประชากร. สืบค้นวันที่ 15 สิงหาคม 2564 จาก https://th.wikipedia.org/wiki/