รูปแบบการบริหารสถานศึกษาแบบบูรณาการสู่พหุปัญญาเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาระดับปฐมวัยของโรงเรียนบ้านประจัน

Main Article Content

แวมัสนะห์ แส๊ะเด็ง

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์ 1)  เพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารสถานศึกษาแบบบูรณาการสู่พหุปัญญาเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาระดับปฐมวัยของโรงเรียนบ้านประจัน และ 2)  เพื่อศึกษาผลการใช้รูปแบบการบริหารสถานศึกษาแบบบูรณาการสู่พหุปัญญาเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาระดับปฐมวัยของโรงเรียนบ้านประจัน กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ครู คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และผู้ทรงคุณวุฒิด้านการจัดการเรียนรู้ปฐมวัย เครื่องมือในการวิจัยได้แก่ แบบบันทึกการประชุมและแบบวิเคราะห์รูปแบบการบริหารสถานศึกษา แบบบันทึกการปฏิบัติงาน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้เทคนิคแบบสามเส้า ใช้สถิติ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ T-test แบบ independent samples ผลการศึกษาพบว่า มีปัญหาการอ่าน สื่อการเรียนการสอนและครู โดยได้พัฒนารูปแบบและทดลองใช้

Article Details

บท
Research Articles

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช 2560. กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ.

จินตนา บุญบงการและณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์. (2549). การจัดการเชิงกลยุทธ์. กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น.

ชนาธิป พรสกุล. (2554). การสอนกระบวนการคิด ทฤษฎีและการนำไปใช้. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ชยาภร สารีรัตน์. (2562). การบริหารสู่ความเป็นเลิศของสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา.

บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ชูใจ เอื้ออักษร. (2549). การบริหารเชิงกลยุทธ์. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล.

ชูชีพ อรุณเหลือง. (2558). การพัฒนารูปแบบการบริหารสถานศึกษาโดยการสร้างเครือข่ายและการมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่นที่มีผลต่อการยกระดับคุณภาพสถานศึกษา: กรณีศึกษาวิทยาลัยการอาชีพแกลง. ระยอง: วิทยาลัยการอาชีพแกลง, 4-5.

ทวีศักดิ์ สิริรัตน์เรขา. (2549). ออทิสติกกับความสามารถพิเศษ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.

ปารณทัตต์ แสนวิเศษ. (2555). การมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียนประถมศึกษา : การสร้างทฤษฎีจากฐานราก. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

พัชราภรณ์ ดวงชื่น. 2558. องค์ประกอบการบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์สู่ความเป็นเลิศของโรงเรียนสังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสตจักรในประเทศไทย. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศิลปากร.

พิสณุ ฟองศรี. (2553). กลยุทธ์การดำเนินการประกันคุณภาพทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เยาวพา เดชะคุปต์. (2551). การจัดการศึกษาสําหรับเด็กปฐมวัย. กรุงเทพฯ: เอ พี กราฟฟิค ดีไซน์.

โรงเรียนบ้านบางประจัน. (2561). รายงานการประเมินตนเองปี 2561. ปัตตานี: โรงเรียนบ้านบางประจัน.

ศรีเรือน แก้วกังวาล. (2553). จิตวิทยาพัฒนาพัฒนาการทุกช่วงวัย แนวคิดเชิงทฤษฎี-วัยเด็กตอนกลาง. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

สัมนาการณ์ บุญเรือง. (2560). ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี”อำเภอหนองกี่ จังหวัดบุรีรัมย์. บุรีรัมย์: ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอหนองกี่, 3-4.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2550). มาตรฐานการศึกษาของชาติพ.ศ. 2550. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.

สำเร็จ วงศ์ศักดา, สบสันต์ อุตกฤษฎ์ และอนันท์ งามสะอาด. (2554). “รูปแบบการพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษาเพื่อส่งผลต่อความสำเร็จในการบริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา”. วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. 21 (3) ก.ย.-ธ.ค.

สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2546). ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 12. กรุงเทพฯ :

สามลดา.

หทัยรัตน์ เขียวเอี่ยม. (2554). การพัฒนารูปแบบการบริหารสถานศึกษาแบบมีส่วนร่วม:ศึกษาเฉพาะโรงเรียนวัดราชนัดดา สำนักงานเขตพระนคร กรุงเทพมหานคร. อัดสำเนา. ม.ป.ท.

อนันต์ศักดิ์ ภูพลผัน. (2559). การพัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมเพื่อเสริมสร้างการจัดการเรียนรู้ “การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ของโรงเรียนไชยวานวิทยา. อุดรธานี: โรงเรียนไชยวานวิทยา, 424-425.

Kruger, M. (2012). “Toward a Synthesis of Strategic Planning and Organization Development,” Dissertation Abstracts International. 52, 4169-A.