การศึกษาปัจจัยเสี่ยงที่มีผลกระทบต่อการเลี้ยงปลาทับทิมในกระชัง ลุ่มแม่น้ำน่าน จังหวัดพิษณุโลก

Main Article Content

ปาณิสรา หาดขุนทด
ธนากร แสงกุดเลาะ
เกศสุดา โภคานิตย์
กีฬา หนูยศ

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยเสี่ยงที่มีผลกระทบต่อการเลี้ยงปลาทับทิมในกระชังลุ่มแม่น้ำน่าน จังหวัดพิษณุโลก การวิจัยครั้งนี้เป็นวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้เครื่องมือการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์ กลุ่มตัวอย่างการวิจัยประกอบด้วย ตัวแทนกลุ่มเกษตรกรผู้เลี้ยงปลาทับทิมในกระชัง ที่อยู่ในพื้นที่อำเภอเมือง อำเภอพรหมพิราม อำเภอบางกระทุ่ม (กุมภาพันธ์ – ตุลาคม 2564) จำนวน 30 คน โดยใช้เทคนิควิธีคัดเลือกแบบอาสาสมัคร (Voluntary Selection) เกษตรกรมีความเห็นถึงปัจจัยเสี่ยงในการเลี้ยงปลาทับทิมในกระชัง ดังนี้ อันดับ 1 ระดับน้ำ อันดับ 2 คุณภาพน้ำ อันดับ 3 โรคระบาด อันดับ 4 คุณภาพลูกพันธุ์ปลา อันดับ 5 กระชังเสียหายจากระแสน้ำ อันดับ 6 ศัตรูปลา อันดับ 7 ราคาอาหารปลา และอันดับสุดท้าย ราคาปลาที่จับขาย ซึ่งหากเกษตรกรมีการบริหารจัดการที่ดี จะช่วยปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดความเสี่ยงลงได้ 

Article Details

บท
Research Articles
Author Biographies

ธนากร แสงกุดเลาะ, มหาวิทยาลัยนเรศวร

Naresuan University

เกศสุดา โภคานิตย์ , มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ

Chaiyaphum Rajabhat University

กีฬา หนูยศ, มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ

Rajabhat Chaiyaphum University

References

ชนกันต์ จิตมนัส. (2556). โรคปลานิล, เชียงใหม่สัตวแพทยสาร. 11(1): 75-86.

แนวหน้า. (2563). ผู้เลี้ยงปลากระชังพิษณุโลกยังไม่กระทบภัยแล้ง! หลังเขื่อนหลักปล่อยน้ำ

รักษาระบบนิเวศน์. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 13 ตุลาคม 2564. แหล่งที่มา

https://www.naewna.com/local/464382.

นฤเบศวร์ สถิต และคณะ. (2550). ปลาชังน้ำ : สถานการณ์การเลี้ยงปลาทับทิมกระชังน้ำใน

ชุมชนกรณีศึกษา บ้านวัดใหม่ หมู่ที่ 8 ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอทุ่งใหญ่ จังหวัด

นครศรีธรรมราช, มนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ นวัตกรรมสร้างสรรค์สังคม

มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา. 2 : 513 -524.

พิชัย สมบูรณ์วงศ์. การคัดเลือกลูกพันธุ์ปลานิล. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 13 ตุลาคม 2564.

แหล่งที่มา https://researchex.mju.ac.th/agikl/index.php/knowledge/31-

fishing/30-inll.

พิมพกานต์ เลอเบล และคณะ (2014) ที่ได้ศึกษาผลกระบทของน้ำท่วมและภัยแล้วต่อการเลี้ยงปลา

ในกระชังในแม่น้ำ, KKU Res J. 19(4): 539-549.

โพสทูเดย์. (2556). น้ำน่านลดปลากระชังตายเกลื่อน. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 13 ตุลาคม

แหล่งที่มา https://www.posttoday.com/social/local/229476

วกรรณิการ์ นิ่มทรงประเสริฐ. (2562). รูปแบบและกลยุทธ์ในการดำเนินธุรกิจเลี้ยงปลานิล

ของผู้ประกอบการในพื้นที่ตำบลบางแขม อำเภอเมืองนครปฐม จังหวัดนครปฐม.

บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ศิวะพร ขจรศักดิ์สิริกุล และบรรดิษฐ พระประทานพร. (2563). กลยุทธการตลาดโซเชียล

มีเดียที่สงผลตอการตัดสินใจซื้อสินคาในเว็บไซตชอปป ในยุควิกฤติโควิด-19,

วารสารวิทยาลัยโลจิสติกสและซัพพลายเชน. 6(2) : 89 - 101.

สุพัตรา ตั้งวิเชียร และปวีนา กองจันทร์. (2560). การศึกษาแนวทางการลดต้นทุนการเลี้ยง

ปลานิลในกระชัง กรณีศึกษากระชังปลานิลในจังหวัดมหาสารคาม, วารสารการ

จัดการธุรกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา. 6(1) : 51-64.

สำนักวิจัยและพัฒนาประมงน้ำจืด. (2555). คู่มือการหาสาเหตุการสังเกตอาการการป้องกัน

และการรักษาสัตว์น้ำป่วยหรือตาย. กรมประมง : กรุงเทพฯ.

สำนักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 2 ลำปาง. (2563). รายงานคุณภาพแหล่งน้ำผิวดิน. ออนไลน์.

สืบค้นเมื่อ 13 ตุลาคม 2564. แหล่งที่มา http://www.reo02.mnre.go.th/

th/information/more/708.

สำนักข่าว เอดีดี นิวส์. (2562). เกษตรกรผู้เลี้ยงปลากระชัง เตรียมรับมือระดับน้ำน่านที่

เพิ่มขึ้น. ดิน. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 13 ตุลาคม 2564. แหล่งที่มา

http://addnewsphitsanulok.com/add2019/?p=14222 หน่วยวิจัยสังคมและสิ่งแวดล้อม คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. โรคของปลานิล. ออนไลน์. สืบค้น

เมื่อ 13 ตุลาคม 2564. แหล่งที่มา https://idl-bnc-

idrc.dspacedirect.org/bitstream/handle/10625/56248/IDL-56248.pdf.