การประยุกต์หลักอริยสัจ 4 กับการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน เพื่อการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์สำหรับผู้เรียน ในสาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนา

##plugins.themes.bootstrap3.article.main##

ชยาภา คำเมรี
วิทยา ทองดี
สมควร นามสีฐาน
จุฬาพรรณภรณ์ ธนะแพทย์

摘要

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอการประยุกต์หลักอริยสัจ 4 กับการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานเพื่อการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์สำหรับผู้เรียน อาศัยความคิดสร้างสรรค์ และความคิดวิจารณญาณ ในการแก้ปัญหา ประกอบกับหลักการจัดการเรียนรู้แบบอริยสัจ 4 อันได้แก่ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ และมรรค ซึ่งเป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนสามารถแก้ปัญหาและเกิดการพัฒนาที่ดีด้านร่างกาย จิตใจ และปัญญางอกงาม และจัดการกับสิ่งทั้งหลายอย่างถูกต้อง มีชีวิตที่ดีงาม สังคมมีความสงบสุข มีสมาธิ มีความเข้าใจเนื้อหาในสาระการเรียนรู้พระพุทธศาสนาและปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง

##plugins.themes.bootstrap3.article.details##

栏目
Articles
##submission.authorBiographies##

##submission.authorWithAffiliation##

Mahachulalongkornrajavidyalaya University

##submission.authorWithAffiliation##

Mahachulalongkornrajavidyalaya University

##submission.authorWithAffiliation##

Mahachulalongkornrajavidyalaya University

参考

กระทรวงศึกษาธิการ. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช 2542

ที่แก้ไขเพิ่มเติม 2545. โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไข

เพิ่มเติม (ฉบับที่2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพมหานคร , กระทรวงศึกษาธิการ

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551.

กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.

ณัฐริกา ก้อนเงิน. (2558). ผลการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานโดยใช้เครื่องมือการเรียนรู้

ร่วมกันออนไลน์ด้วยเทคนิคดอกบัวบานที่มีต่อความคิดสร้างสรรค์ส าหรับนักเรียน

ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย. รายงานการวิจัย, ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสาร

การศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พระเทพวัชรบัณฑิต (สมจินต์ สมฺมาปญฺโญ). (2564). พระพุทธศาสนากับการพัฒนา

ที่ยั่งยืน. เอกสารประกอบการบรรยายพิเศษ สถานีโทรทัศน์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬา

ลงกรณราชวิทยาลัย MCU TV.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต). (2556). ปรัชญาการศึกษาของไทย ภาค พุทธธรรม:

แกนนำการศึกษา. นครปฐม : วัดญาณเวศกวัน

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น, 2562, หลักสูตรครุศาสตร

บัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา (พ.ศ.2562), ขอนแก่น: สำนักวิชาการ.

วิภาพรรณ พินลา. (2560). แนวทางการจัดการเรียนรู้วิชาสังคมศึกษา เพื่อพัฒนาทักษะ

การคิดอย่างมีวิจารณญาณสาหรับผู้เรียนในศตวรรษที่ 21, วารสารปาริชาต, 30(1):16

สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (สทศ.). (2565) [ออนไลน์], แหล่งที่มา

https://www.niets.or.th [22 พฤศจิกายน 2565],

สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ. (2542). แนวคิดกิจกรรมการจัดการเรียนการสอน. กรุงเทพมหานคร : หน่วยศึกษานิเทศก์ สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ.

สิทธิชัย ชมพูพาทย์. (2554). การพัฒนาพฤติกรรมการเรียนการสอนเพื่อการแก้ปัญหาอย่าง

สร้างสรรค์ของครูและนักเรียนในโรงเรียนส่งเสริมนักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ

ทางวิทยาศาสตร์โดยใช้การวิจัยปฏิบัติการเชิงวิพากษ์. ปริญญาวิทยาศาสตรดุษฎี

บัณฑิต (การวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์). กรุงเทพมหานคร : บัณฑิตวิทยาลัย

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สุวิทย์ มูลคำ และอรทัย มูลคำ. (2545). 20 วิธีการจัดการเรียนรู้, เพื่อพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และการเรียนรู้โดยการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: ห้างหุ้นส่วนจำกัด ภาพพิมพ์.

อานนท์ พัสดร. (2560). การพัฒนาบทเรียนบนเว็บโดยใช้โครงงานเป็นฐานที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ วิชาระบบจัดการฐานข้อมูล สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาสารคาม.

อังคณา ตุงคะสมิต. (2559). สังคมศึกษาในโลกอาเซียน Social studies in ASEAN Community. ขอนแก่น : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น