สภาพการบริหารงานวิชาการโรงเรียนในกลุ่มเครือข่ายโรงเรียนห้วยเกิ้งปะโค สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2

##plugins.themes.bootstrap3.article.main##

เยาวลักษณ์ สุวรรณดวง

摘要

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสภาพการบริหารงานวิชาการโรงเรียนในกลุ่มเครือข่ายโรงเรียนห้วยเกิ้งปะโค สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 โดยศึกษาสภาพการบริหารงานวิชาการทั้งหมด 5 ด้านคือ 1)การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา 2)การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ 3)การวัดผล ประเมินผล 4)การพัฒนาและใช้สื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาและ 5)การนิเทศการศึกษากลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน จำนวน 70 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 40 ข้อ มีค่า IOC ระหว่าง 0.67- 1.00 และมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ 0.87 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงแบนมาตรฐานผลการวิจัยพบว่า สภาพการบริหารงานวิชาการโรงเรียนในกลุ่มเครือข่ายโรงเรียนห้วยเกิ้งปะโค สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมาก 1 ด้านคือ ด้านการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา และอยู่ในระดับปานกลางจำนวน 4 ด้าน โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยคือ ด้านการพัฒนาและใช้สื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ด้านการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ ด้านการนิเทศการศึกษาและด้านการวัดผล ประเมินผล ตามลำดับ  

##plugins.themes.bootstrap3.article.details##

栏目
Research Articles

参考

กระทรวงศึกษาธิการ. (2552) คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู. กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์

การเกษตร แห่งประเทศไทย.

กฤตยา จุลละมณฑล. (2557). ปัญหาและแนวทางการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนกลุ่ม

เมืองฉะเชิงเทรา 1 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทราเขต 1.

บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยบูรพา.

ฉลาด จันทรสมบัติ. (2553). การมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาท้องถิ่น.

วารสารการบริหารและพัฒนา, 2(1), 175 – 189.

ดอกฝ้าย ทัศเกตุ. (2553). แนวทางการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนขยายโอกาส อำเภอ

แม่อาย จังหวัดเชียงใหม่.บัณฑิตวิทยาลัย :มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย.

บุญเลี้ยง ทุมทอง. (2556). ทฤษฎีและการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ (Theories and

development instructional model). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์เอสพริ้นติ้งไทย

แฟคตอรี่.

ประพันธ์ ยุนิลา. (2562). ความต้องการของครูที่มีต่อการบริหารงานวิชาการของโรงเรียน

ในกลุ่มเครือข่ายสร้างคอม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา

อุดรธานี เขต1บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชธานี.

ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2553). จิตวิทยาการบริหารงานบุคคล. กรุงเทพฯ :ศูนย์สื่อเสริม

กรุงเทพ.

พิชัย เหลื่องอรุณ. (2555). สภาพและปัญหาการดำเนินงานวิชาการโรงเรียนมาตรฐานสากล

สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1. บัณฑิตวิทยาลัย : จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.

รัตนาวรรณ สมัญญา. (2555). ปัญหาและข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาการบริหารงาน

วิชาการตามความคิดเห็นของครูประถมศึกษา อําเภอวังสมบูรณ์ เขตพื้นที่การ

ศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต 1.บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยบูรพา.

วิไลลักษณ์ เจริญทรัพย์และคณะ. (2555). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหลักสูตร . วิกิพีเดีย

สารานุกรมเสรี,จาก https://th.wikipedia.org>wiki>หลักสูตร.