ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพเว็บไซต์บริการและความพึงพอใจ ของประชาชน
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์วิจัยเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพเว็บไซด์บริการและความพึงพอใจของประชาชน โดยผู้วิจัยใช้แบบสอบถามไปรวบรวมความเห็นของประชาชนที่อาศัยอยู่ในเขตจังหวัดอุบลราชธานีจำนวน 400 คน แล้วนำกลับมาวิเคราะห์ผลด้วยสถิติวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ผลวิจัยพบว่า มีความสัมพันธ์ไปในทิศทางเดียวกันระดับน้อยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ .01 ที่ค่า r = .35 โดยมีคุณภาพความสามารถในการใช้และคุณภาพข้อมูลมีความสัมพันธ์มากที่สุดที่ r = .37 และ .31
Article Details
References
จักรพงษ์ แผ่นทอง. (2020). ตรวจสอบการแจกแจงปกติ SPSS ด้วยโคลโมโกรอฟ-สมีนอฟ, https://krujakkrapong.com.
ดวงพร หัชชะวณิช. (2559). การเลือกใช้สถิติทดสอบ levene Bartlet และ O’Brien ในการทดสอบความเป็นเอกพันธ์ของค่าความแปรปรวน, วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 3(1), 55-63.
บุญศรี พรหมมาพันธุ์. (2561). เทคนิคการแปลผลการวิเคราะห์ข้อมูลสำหรับการใช้สหสัมพันธ์ และการถดถอยในการวิจัย, วารสารศึกษาศาสตร์ มสธ, 11(1), 32-45.
ประสพชัย พสุนนท์. (2557). ความเชื่อมั่นของแบบสอบถามในงานวิจัยเชิงปริมาณ, วารสารปาริชาต มหาวิทยาลัยทักษิณ, 27(1), 144-163.
ยุทธ ไกยวรรณ. (2556). การวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างด้วย AMOS, พิมพ์ครั้งที่ 1; กรุงเทพฯ: ศูนย์หนังสือแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วีระศักดิ์ จินารัตน์. (2564). ระเบียบวิธีวิจัยสมัยใหม่, พิมพ์ครั้งที่ 1; อุบลราชธานี, ยงสวัสดิ์ อินเตอร์กรุ๊ป จำกัด.
วีระศักดิ์ จินารัตน์. (2564). มาตรฐานงานวิจัยเชิงปริมาณและการพัฒนา, พิมพ์ครั้งที่ 1; อุบลราชธานี, ยงสวัสดิ์ อินเตอร์กรุ๊ป จำกัด.
สมบัติ ท้ายเรือคำ. (2558). การพัฒนาแบบสอบถามและแบบวัดทางจิตวิทยา, วารสารวิจัยเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม, 3(1), 35-48.
Ahmi, A., & Rosli. M. (2015). Web Accessibility of the Malaysian Public University
Websites. Proceedings of the International Conference on E-Commerce, 20-22 Oct Kuching, Sarawak, Malaysia.
Affandy, H., Hussain, A. & Nadzir. M. (2016). Web Visual Design Principle Used in Public
Universities Website Design. Proceedings of the 3rd International Conference on Applied Science and Technology.
Aslam, W., Farhat. K., & Arif. I. (2019). Role of electronic word of mouth on purchase
intention. International Journal of Business Information Systems, 30(4), 411-426. 10.1504/1JBIS.2019.10020633.
Arifin, S.R., & Rizal. M. (2022). WEBSITE QUALITY MEASUREMENT OF DIPA MAKASSAR
UNIVERSITY. ZONAsi. Journal Sisten Informasi, 4(1), pp. 18-30.
Bilal, M., Jianqiu. Z., Akram. U., Tanveer. Y., Sohaib. M., & Raza. M.A.A. (2020). The
Role of Motivational Factors for Determining Attitude Towards eWOM in Social Media Context. International Journal of Enterprise Information Systems IJEIS), 16(2), 73-91.
Çelik, H.E., & Yilmaz. V. (2011). Extending the technology acceptance model for
adoption of e-shopping by consumers in Turkey. Journal of Electronic Commerce Research, 12(2), 152-164.
Cuong, D.T., 2020). The Impact of Brand Credibility and Perceived Value on Customer
Satisfaction and Purchase Intention at Fashion Market. Journal of Advanced Research in Dynamical and Control Systems, 20, 22
Dhingra, S., Gupta. S., & Bhatt. R. (2020). A study of relationship among service quality
of E-commerce websites, customer satisfaction, and purchase intention. International Journal of E-Business Research, IJEBR), 16(3), 42-59.