ดนตรีมีส่วนพัฒนาทักษะการเคลื่อนไหวในเด็กปฐมวัยอย่างไร

Main Article Content

พิชาญ ณ พัทลุง
สุทธินี ณ พัทลุง

บทคัดย่อ

เด็กปฐมวัย เป็นช่วงวัยที่สำคัญต้องวางรากฐานชีวิตให้มีพัฒนาการที่เหมาะสม  มีการพัฒนาทักษะพื้นฐานด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา ที่จำเป็นการในดำรงชีวิตประจำวันและในอนาคตต่อไป  ดนตรีเป็นศาสตร์ที่มีอิทธิพลต่อพัฒนาการของเด็กปฐมวัย  โดยนำจังหวะมาประกอบกับการจัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวของเด็กปฐมวัย  เพื่อดึงดูดความสนใจ ให้เด็กกล้าแสดงออก เกิดความมั่นใจ คิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีจินตนาการ มีความสนุกสนาน ผ่อนคลาย มีร่างกายที่แข็งแรง พร้อมเรียนรู้ด้วยตนเอง ดังนั้น ดนตรีจึงเป็นตัวแปรสำคัญและเป็นสื่อกลางในการพัฒนาทักษะการเคลื่อนไหวของเด็กปฐมวัย บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอความรู้เกี่ยวกับดนตรีมีส่วนช่วยในการพัฒนาทักษะการเคลื่อนไหวในเด็กปฐมวัยอย่างไร โดยครูผู้สอนหรือผู้ดูแลเด็กปฐมวัยสามารถนำไปปรับใช้เป็น แนวทางในการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมและพัฒนาทักษะการเคลื่อนไหวประกอบดนตรีนี้ได้ ต่อไป

Article Details

บท
Articles
Author Biography

สุทธินี ณ พัทลุง , ครูชำนาญการ โรงเรียนบ้านอุ่มจาน อำเภอประจักษ์ศิลปาคม จังหวัดอุดรธานี

ครูชำนาญการ โรงเรียนบ้านอุ่มจาน อำเภอประจักษ์ศิลปาคม จังหวัดอุดรธานี

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.

ณรุทธ์ สุทธิจิตต์. ดนตรีสำหรับเด็ก.[ออนไลน์] 2560 [อ้างเมื่อ 14 สิงหาคม2560]. จาก https://www.facebook.com/musicorfffun/photos/pb.1415343558493867.-2207520000.1474224602./1425031654191724/?type=3

ธูปทอง ศรีทองท้วม. (2538). ความคิดสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์กิจกรรมการเคลื่อนไหวและจังหวะโดยใช้กิจกรรมทักษะทางดนตรี. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม.(การปฐมวัย). กรุงเทพฯ:บัณฑตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ. (ถ่ายเอกสาร).

แพง ชินพงษ์ (2540). การวิเคราะห์บทความด้านจริยธรรมของเด็กปฐมวัยในนิตยสารสำหรับ ครอบครัว. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต. (การศึกษาปฐมวัย). กรุงเทพฯ.

เยาวพา เดชะคุปต์. (2542). การศึกษาปฐมวัย. กรุงเทพฯ: แม็ค.

วรศักดิ์ เพียรชอบ. (2525). สมรรถภาพทางกาย. สารานุกรมศึกษาศาสตร์,65. ม.ป.ท. : ม.ป.พ.

วิทยา ถิฐาพันธ์. (2553). อยากกระตุ้นให้ลูกฉลาดตั้งแต่อยู่ในท้อง [เว็บไซต์]. สืบค้นจาก http://www.si.mahidol.ac.th/sidoctor/e-pl/articledetail.asp?id=425

ศูนย์พัฒนาบุคลากร Hi.Q. group. การพัฒนาสมองเด็กปฐมวัย. [ออนไลน์] 2560 [อ้างเมื่อ 14 สิงหาคม 2560].จาก http://oknation.nationtv.tv/blog/Hi-Q-Group/2009/07/19/entry-1

สถาบันราชานุกูล. ใช้ดนตรีกระตุ้นทักษะวัยใส พัฒนาสมาธิ. [ออนไลน์] 2560 [อ้างเมื่อ 14 สิงหาคม 2560].จาก http://rajanukul.go.th/iqeq/index.php?mode=iqeq&group_id=0&id=303

สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ.(2528). แนวคิดและวิธีการวางแผนการศกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา.

Annareno A, A. Fundamental Movement and Sport Skill Development for the Elementary and Middle School .Ohio :Charles E. Merrill .1973. 5.

Sapora, A.V. and E.D. Mitehell. The Theory of Play and Recreation. 3 rd., New york: The Ronald Press. 1961.