บทบาทของการเรียนรู้ทางการเงินที่มีต่อการวางแผน ทางการเงินส่วนบุคคล

Main Article Content

จุฬารักษ์ อุทธสิงห์
กัณตภณ หลอดโสภา
เข็มทอง แก้วประทุม
วาสนา ศรีมะเรือง
จุไรวรรณ ปัตถาภูมิพัชร์

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์วิจัยเพื่อศึกษาอิทธิพลขององค์ประกอบการเรียนรู้ทางการเงินที่ส่งผลต่อการวางแผนทางการเงิน โดยผู้วิจัยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือสำหรับเก็บรวบรวมความเห็นของประชาชนที่อาศัยอยู่ในเขตจังหวัดอุบลราชธานี จำนวน 322 คน และนำกลับมาวิเคราะห์ผลด้วยสถิติวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลวิจัยพบว่า องค์ประกอบการเรียนรู้ทางการเงินมีอิทธิพลพยากรณ์ต่อการวางแผนทางการเงินอย่างมีนัยสำคัญทางสถิต โดยมีผลทดสอบค่า               F = 154.25 (Sig. 000) ทั้งนี้ องค์ประกอบของการวางแผนทางการเงิน เช่น ทัศนคติทางการเงิน ความรู้ทางการเงิน และทัศนคติต่อความเสี่ยง มีอิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญและมีสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ร่วมกันที่ R2 .59 กับมีความคลาดเคลื่อนสะสมที่ร้อยละ 33

Article Details

บท
Research Articles

References

กัญญสิริ จันทร์เจริญ. (2554). บทที่ 5 การกำหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง, https://www.ict.up.ac.th/surinthips/ResearchMethodology_2554.

บุญศรี พรหมมาพันธุ์. (2561). เทคนิคการแปลผลการวิเคราะห์ข้อมูล สำหรับการใช้สหสัมพันธ์และการถดถอยในการวิจัย, วารสารศึกษาศาสตร์ มสธ, 11(1), 32-45.

บุญศรี พรหมมาพันธุ์. (2562). เทคนิคการแปลผลคอมพิวเตอร์สำหรับการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยในการวิจัย, วารสารวิชาการสังคมศาสตร์เครือข่ายวิจัยประชาชื่น, 1(1), 37-52.

ประสพชัย พสุนนท์. (2557). ความเชื่อมั่นของแบบสอบถามในการวิจัยเชิงปริมาณ, วารสารปาริชาต มหาวิทยาลัยทักษิณ, 27(1), 144-163.

พงษ์ะรรณ บุญเลิศ (2565). พร้อมมั้ย วัยเกษียณเติมสุขชีวิตออกแบบได้. หนังสือพิมพ์เดลินิวส์. วัน

พุธที่ 28 กันยายนพ.ศ. 2565(4)

ยุทธ ไกยวรรณ. (2556). การวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างด้วย AMOS, พิมพ์ครั้งที่ 1: กรุงเทพฯ : ศูนย์หนังสือแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วีระศักดิ์ จินารัตน์. (2564). ระเบียบวิธีวิจัยสมัยใหม่, พิมพ์ครั้งที่ 1; อุบลราชธานี, ยงสวัสดิ์ อินเตอร์กรุ๊ปจำกัด.

วีระศักดิ์ จินารัตน์. (2564). มาตรฐานงานวิจัยเชิงปริมาณและการพัฒนา, พิมพ์ครั้งที่ 1; อุบลราชธานี, ยงสวัสดิ์ อินเตอร์กรุ๊ปจำกัด.

สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ้งภากรณ์. (2561). ผลกระทบทางเศรษฐกิจของความไม่แน่นอนทางการเมืองในประเทศไทย, https://www.pier.or.th/abridged/2018/15/

Collins, J. M., Hembre, E., & Urban, C. (2020). Exploring the rise of mortgage borrowing among older Americans. Regional Science and Urban Economics, 83, 103524. https://doi.org/10.1016/j.regsc iurbeco.2020.103524.

Ghadwan, A., Wan, A., Wan, M., & Hanifa, M.H. (2022). Financial Planning for Retirement Models: An Integrative Systematic Review. Pertanika Journal of Social Sciences and Humanities, 30, 45-61.

Hauff, JC, C. J. Carlander, A., Gamble, A, Girling, T, Holmen, M, 2014. Storytelling as a mean to increase consumers' processing of financial information. Int. J. Bank Market 32 (6), 494-514 https://doi.org/10.1108/1RM-05-2013-0009.

Lusardi, A. (2008). Financial Literacy: An Essential Tool for Informed Consumer Choice? (NBER No. 14084). Available online:

http://hdl.handle.net/10419/25554 (accessed on 25 March 2020).

Lahiri S, and Biswas S, Department of Economics and Finance, Birla Institute of Technology and Science, Pilani, Hyderabad Campus, Hyderabad, India, Does financial literacy improve financial behavior in emerging economies? Evidence from India, 2022; 48:9/10, 1430-1452.

Lee, J. M., Lee, Y. G., & Kim, S. (2019). Loan type and debt delin- quency among millennial and non-millennial households. Family and Consumer Sciences Research Journal, 47(4), 342-358.

Lusardi, A., Mitchell, O. S., & Oggero, N. (2020b). Debt and financial vulnerability on the verge of retirement. Journal of Money, Credit and Banking, 52(5), 1005-1034.

Mahapatra MS, Raveendran J, Mishra RK, Role of Mental Accounting in Personal Financial Planning: A Study Among Indian Households, Psychol Stud (October-December 2022) 67(4):568-582 https://doi.org/10.1007/12646-022-00683-6.

OECD and G20 Indicators OECD Publicing, Par Oliver Marquez, FJ, Guarido-Rueda, A., Amate-Fortes, 1, 2020. Measuring financial knowledge: a macroeconomic perspective. Int. Econ. Econ. Policy 1-46. Hips://doi.org/10.1007/s10366-000-00-482-2.

Olsen, J., Kasper, M., Kogler, C., Muchlbacher, S., & Kirchler, E. (2019). Mental accounting of income tax and value added tax among self-employed business owners. Journal of Economic Psy chology, 70, 125-139.

Sun, A. R., & Houle, J. N. (2020). Trajectories of unsecured debt across the life course and mental health in midlife. Society and Mental Health, 19(1), 61-79.

Wells Fargo (2016). 2016 Wells Fargo Millennial Study. https://stati

cl.squarespace.com/static/53068354e4b083d9ce6ab0da/v/58064 ace46c3c4a864a63b24/1476807375572/14845-2016-millennial- retirement-study.pdf.