ผลของกิจกรรมแนะแนวต่อการเสริมสร้างการรับรู้ความสามารถของตน ในการตัดสินใจเลือกอาชีพสำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนพิบูลวิทยาลัย

Main Article Content

พิมพลอย ปานเพชร
วรางคณา โสมะนันทน์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบการรับรู้ความสามารถของตนในการตัดสินใจเลือกอาชีพของนักเรียนก่อนและหลังเข้าร่วมกิจกรรมแนะแนวต่อการเสริมสร้างการรับรู้ความสามารถของตนในการตัดสินใจเลือกอาชีพ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนพิบูลวิทยาลัย จำนวน 40 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) กิจกรรมแนะแนวต่อการเสริมสร้างการรับรู้ความสามารถของตนในการตัดสินใจเลือกอาชีพ 2) แบบวัดการรับรู้ความสามารถของตนในการตัดสินใจเลือกอาชีพ  วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติทดสอบ The Wilcoxon Matched Pairs Signed-ranks test ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนกลุ่มทดลองที่เข้าร่วมกิจกรรมมีคะแนนจากแบบวัดการรับรู้ความสามารถของตนในการตัดสินใจเลือกอาชีพในระยะหลังการทดลองสูงกว่าระยะก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

Article Details

บท
Research Articles

References

พนม ลิ้มอารีย์. (2548). การแนะแนวเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลาง

การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2550 พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.

รสสุคนธ์ วีระเสถียร. (2553). ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความสามารถของตนเองภาวะผู้นำ

ความเหนียวแน่นภายในกลุ่มกับผลการปฏิบัติงานของผู้บังคับบัญชา บริษัท เอ็นเอ็มบี-มินีแบไทย จำกัด. วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 36(1), 70-85.

สมร ทองดี, อรพินทร์ ชูชม, อัจฉรา สุขารมณ์และทัศนา ทองภักดี. (2553). ปัจจัยเชิงเหตุและ

ผลของภูมิคุ้มกันทางจิตของเยาวชน. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

พิชิต ฤทธิ์จรูญ. (2544). หลักการวัดผลและประเมินผลการศึกษา. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์

มหาวิทยาลัย.

พันธุ์ทิพย์ พัชรพงศ์พรรณ. (2556). การรับรู้ความสามารถแห่งตนในการตัดสินใจเลือกอาชีพของ

นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยรามคำแหง. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ.

มาเรียม นิลพันธ์. (2556). วิจัยทางการศึกษา Research Methodology in Education.

นครปฐม: ศูนย์วิจัยและพัฒนาทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.

นิรันดร์ จุลทรัพย์. (2558). การแนะแนวเพื่อพัฒนาผู้เรียน. สงขลา: บริษัท นำศิลป์โฆษณจำกัด.

นิรนาท แสนสา. (2558). การแนะแนวเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านอาชีพสำหรับเด็กและเยาวชน

ไทย. วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, 5(2), 48-63.

กฤตวรรณ คำสม. (2559). เอกสารประกอบการสอนวิชาการแนะแนวเบื้องต้น. คณะครุศาสตร์

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.

ศิริพรรณ ศิริบุญนาม. (2559). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนที่ส่งเสริมความสามารถใน

การตัดสินใจ เกี่ยวกับประเด็นปัญหาทางวิทยาศาสตร์กับสังคม สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

สุนิสา วงศ์อารีย์. (2559). การใช้ชุดการเรียนรู้เรื่อง โครงการเพื่อพัฒนาความสามารถในการ

เขียนโครงการแนะแนวของนักศึกษาชั้นปีที่ 3 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี. วารสารวิชาการและวิจัยสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์, 14 (2).

สมาคมแนะแนวแห่งประเทศไทยและสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2559). การ

จัดการเรียนรู้กิจกรรมแนะแนว. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.

จีรัฐติกุล ดอนวิจารย์ขจร. (2560). การพัฒนากิจกรรมแนะแนวเพื่อเสริมสร้างทักษะชีวิตและการ

แก้ปัญหาของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัย

ราชภัฏมหาสารคาม.

กรมการจัดหางาน. (2561). คู่มือการเตรียมความพร้อมก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงาน กระบวนการ

ช่วยให้ผู้รับบริการแนะแนวรู้ทิศทางตลาดแรงงาน. กรุงเทพฯ: กระทรวงแรงงาน.

ชลลดา พันธุ์เนตร. (2561). การเปรียบเทียบผลของการใช้โปรแกรมกิจกรรมแนะแนวอาชีพตาม

ทฤษฎีของแฟรงค์ พาสันส์กับทฤษฎีของเกอแลตที่มีต่อความสามารถในการตัดสินใจเลือกอาชีพของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศรี

นครินทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ.

เจษฎา บุญมาโฮม. (2562). หลักการแนะแนวและการพัฒนาผู้เรียน. พิมพ์ครั้งที่ 9. นครปฐม:

สไมล์ พริ้นติ้ง & กราฟิกดีไซน์.

สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา กลุ่มพัฒนาระบบการแนะแนว. (2562). แผนพัฒนาการ

แนะแนวและแนวทางการจัดกิจกรรมแนะแนว. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัดโรงพิมพ์อักษรไทย (น.ส.พ. ฟ้าเมืองไทย).

สมโภชน์ เอี่ยมสุภาษิต. (2562). ทฤษฎีและเทคนิคการปรับพฤติกรรม = Theories and

techniques in behavior modification (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

จิราภา บุตรสีตะราช. (2563). การเสริมสร้างความพร้อมทางอาชีพของนักเรียนมัธยมศึกษาตอน

ปลาย โดยกิจกรรมแนะแนว. บัณฑิตวิทยาลัย :มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ,กรุงเทพฯ.

Hackett, G., และ Betz, N. E. (1981). A self-efficacy approach to the career

development of women. Journal of Vocational Behavior, 18(3), 326-339

Bandura, A. (1986). Social foundations of thought and action: A social cognitive

theory. New Jersy: Prentice-Hall.

Betz, N. E. (1992, September). Counseling Uses of Career Self-Efficacy Theory. The

Career Development Quarterly, 41(1), 22-26.

Lent, R. W., และ Brown, S. D. (2008). Social cognitive career theory and subjective

well-being in the context of work. Journal of Career Assessment, 16(1),

-21.

Super, D. E. (1953). A theory of vocational development. American Psychologist,

(5), 185-190.

Taylor, K. M., และ Betz, N. E. (1983). Applications of self-efficacy theory to the

understanding and treatment of career indecision. Journal of Vocational Behavior, 22(1), 63-81.