โอกาสและความท้าทายเพื่อความอยู่รอดของร้านค้าปลีกขนาดเล็ก ในยุคหลังโควิด-19
Main Article Content
บทคัดย่อ
การแพร่ระบาดของโควิด-19 ส่งผลกระทบต่อสังคม เศรษฐกิจและพฤติกรรมการใช้ชีวิตและการใช้จ่ายของผู้บริโภคเปลี่ยนแปลงไปตามสถานการณ์การระบาดไปทั่วโลก หลายประเทศมีการกำหนดมาตรการรับมือกับสถานการณ์การระบาดแตกต่างกัน วิถีการใช้ชีวิตของผู้คนกลายเป็นการใช้ชีวิตวิถีใหม่ พฤติกรรมการบริโภคและตัดสินใจซื้อสินค้าก็เปลี่ยนไปจากเดิมนิยมซื้อสินค้าตามร้านค้าทั่วไป พอเริ่มมีการแพร่ระบาดเริ่มป้องกันตนเองโดยลดการออกจากบ้านมากขึ้นแล้วหันไปซื้อสินค้าออนไลน์มากขึ้น พฤติกรรมการชำระเงินโดยใช้ e-payment เพิ่มสูงขึ้นแม้ว่าการระบาดของโควิด-19 เริ่มลดลง ดังนั้นผู้ประกอบการร้านค้าปลีกจึงจำเป็นต้องปรับกลยุทธ์ธุรกิจและปรับเปลี่ยนช่องทางการขายให้เป็น Omni channel เพื่อความอยู่รอดของธุรกิจในยุคหลังโควิด-19 อาทิเช่น การใช้อุปกรณ์และเทคโนโลยีที่ทันสมัย การบริหารจัดการร้านอย่างเป็นระบบ การบริหารคลังสินค้า การเพิ่มช่องทางขาย ในรูปแบบร้านค้าออนไลน์ควบคู่กับการขายผ่านหน้าร้าน การจัดหาสินค้าและบริการที่หลากหลายตรงตามความต้องการ การพัฒนาธุรกิจให้กลายเป็นร้านค้าปลีกอัจฉริยะ ซึ่งจะได้รับความสนใจและการยอมรับจากผู้บริโภคมากขึ้น นับว่าเป็นโอกาสและความท้าทายของธุรกิจค้าปลีกขนาดเล็กในอนาคตต่อไป
Article Details
References
กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์. (2560). คู่มือปฏิบัติงานธุรกิจค้าส่งค้าปลีก.
https://www.dbd.go.th/download/article/article_20190704131227.pdf
ทศพล ต้องหุ้ย, ธนพล กองพาลี และอณิยา ฉิมน้อย. (2563). มุ่งสู่เศรษฐกิจไร้เงินสด:
พฤติกรรมผู้บริโภคและโอกาสของธุรกิจไทยช่วงโควิด 19. สืบค้นจาก https://www.bot.or.th/Thai/ResearchAndPublications/articles/Pages/Article_21Jul2020.aspx
นรินทร์ ตันไพบูลย์. (2564, 29 มกราคม). แนวโน้มธุรกิจและอุตสาหกรรมไทยปี 2564-
: ธุรกิจร้านค้าปลักสมัยใหม่. วิจัยกรุงศรี. สืบค้นจาก
https://www.krungsri.com/th/research/industry/industry-outlook
/wholesale-retail/modern-trade/io/io-modern-trade-21
แนวโน้มธุรกิจและอุตสาหกรรมไทยปี 2565-2567. (2565, 11 มกราคม). วิจัยกรุงศรี.
สืบค้นจากhttps://www.krungsri.com/th/research/industry/summary-outlook/outlook-2022-2024.
แนวโน้มธุรกิจ/อุตสาหกรรมไทยปี 2566-2568 : ธุรกิจร้านค้าปลีกสมัยใหม่. (2565, 28
ธันวาคม). วิจัยกรุงศรี. สืบค้นจาก https://www.krungsri.com/th/research /industry /industry-outlook/wholesale-retail/modern-trade/io/modern-trade-2022
แนวโน้มธุรกิจและอุตสาหกรรมไทยปี 2566-2568. (2566, 13 มกราคม). วิจัยกรุงศรี.
สืบค้นจาก https://www.krungsri.com/th/research/industry/summary-
outlook/industry-outlook-2023-2025
แบรนด์เอจ. (2563). ส่องธุรกิจค้าปลีก รับมืออย่างไรจาก Covid-19. สืบค้นจาก
https://www.brandage.com/article/17899/Covid19-Retail
ปราณิดา ศยามานนท์ และ ภัทรพล ยุทธศักดิ์นุกุล. (2563, 31 มีนาคม). ส่องธุรกิจค้าปลีก...
รับมืออย่างไรจาก Covid-19: บทวิเคราะห์ข้อมูล. สืบค้นจากhttps://www.scbeic.com/th/detail/file/product/6735/fm2bmn80yp/EIC-
Note_Retail-industry-2020_31032020.pdf
ศูนย์วิจัยกรุงศรี. (2566, 13 มกราคม). แนวโน้มธุรกิจและอุตสาหกรรมไทยปี 2566-2568.
บทวิเคราะห์. สืบค้นจาก https://www.krungsri.com/th/research/industry /summary-outlook/industry-outlook-2023-2025
สถานการณ์ความมั่นคงระหว่างประเทศภายหลังการระบาด Covid-19. บทวิเคราะห์ข้อมูล
กองความมั่นคงระหว่างประเทศ สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ. สืบค้นจาก
https://www.nsc.go.th/wp-content/uploads/Journal/article-00405.pdf
สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์. (2564, 10 มิถุนายน). E-Commerce ไทยยุค
หลัง Covid-19. บทวิเคราะห์ข้อมูล.สืบค้นจาก
https://www.etda.or.th/th/Useful-Resource/Knowledge-Sharing/Perspective-on-Future-of-e-Commerce.aspx
เสาวณี จันทะพงษ์ และทศพล ต้องหุ้ย. (2563). ผลกระทบวิกฤต COVID-19 กับเศรษฐกิจ
โลก. สืบค้นจาก
https://www.bot.or.th/Thai/ResearchAndPublications/articles/Pages/
Article_18Mar2020.aspx
Alon, T., Doepke, M., Olmstead-Rumsey, J., & Tertilt, M. (2020). The impact of
COVID-19 on gender equality. National Bureau of economic research
(w26947).
Eger, L., Komárková, L., Egerová, D., & Mičík, M. (2021). The effect of COVID-19
on consumer shopping behaviour: Generational cohort perspective.
Journal of Retailing and Consumer Services, 61, 102542.
https://doi.org/10.1016/j.jretconser.2021.102542
Falkner, E. M., & Hiebl, M. R. W. (2015). Risk management in SMEs: a systematic
review of available evidence. The Journal of Risk Finance, 16, 122-144.
https://doi.org/10.1108/JRF-06-2014-0079
Fihartini, Y., Helmi, R. A., Hassan, M., & Oesman, Y. M. (2021). Perceived health
risk, online retail ethics, and consumer behavior within online shopping during the COVID-19 pandemic. Innovative Marketing, 17(3), 17-29. http://dx.doi.org/10.21511/im.17(3).2021.02
Grewal, D., Gauri, D. K., Roggeveen, A. L., & Sethuraman, R. (2021). Strategizing
Retailing in the New Technology Era. Journal of Retailing, 97(1), 6-12. http://doi.org/10.5539/ijbm.v16n12p76
Pantano, E., Pizzi, G., Scarpi, D., & Dennis, Ch. (2020). Competing during a
pandemic? Retailers’ ups and downs during the COVID-19 outbreak.
Journal of Business Research, 116, 209-213. http://dx.doi.org/10.1016/j.jbusres.2020.05.036
Laato, S., Islam, A. N., Farooq, A., & Dhir, A. (2020). Unusual purchasing behavior during
the early stages of the COVID-19 pandemic: The stimulus-organism-response approach. Journal of Retailing and Consumer Services, 57, 102224. https://doi.org/10.1016/j.jretconser.2020.102224
Roggeveen, A. L., & Sethuraman, R. (2020). How the COVID Pandemic May Change the
World of Retailing. Journal of Retailing, 96(2), 169-171. http://dx.doi.org/10.1016/j.jretai.2020.04.002
Shang, Y., Li, H., & Zhang R. (2021). Effects of Pandemic Outbreak on
Economies: Evidence From Business History Context. Front. Public
Health 9:632043. doi: 10.3389/fpubh.2021.632043