การจัดการเรียนรู้แบบ (Active Learning) เพื่อส่งเสริมทักษะการสื่อสารสำหรับเด็กปฐมวัย

Main Article Content

ศุภวัฒน์ บุญนาดี
ชุลีพร นาหัวนิล
ปาริฉัตร ไชยเดช
พิชาญ ณ พัทลุง
ยุรัตน์ดา สุขไชย

บทคัดย่อ

          บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแนวทางการจัดการเรียนรู้ (Active Learning) เพื่อส่งเสริมทักษะการสื่อสารสำหรับเด็กปฐมวัย ทั้งนี้เนื่องจากทักษะการสื่อสารของเด็กนั้นเป็นสิ่งมีความสำคัญสำหรับการเรียนรู้ของเด็ก ทั้งสื่อสารกับตัวเอง ครอบครัว กลุ่มเพื่อน หรือบุคคลอื่น ๆ การจัดการเรียนรู้ (Active Learning) เป็นการจัดกิจกรรมที่เหมาะสมกับเด็กปฐมวัยเนื่องจากเป็นการจัดกิจกรรมที่เด็กได้มีการลงมือปฏิบัติ การทำงานเป็นกลุ่ม การพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิด การวางแผน การออกแบบ วิเคราะห์ ซึ่งจะช่วยให้เด็กมีการสื่อสาร และพัฒนาการของการใช้ภาษาตลอดจนวิธีการสื่อสารได้เหมาะสมตามวัย

Article Details

บท
Articles

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช 2560. กรุงเทพมหานคร: สำนักงาน

คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. สืบค้นเมื่อ 13 พฤศจิกายน 2565.

กมล โพธิเย็น. (2564). Active Learning: การจัดการเรียนรู้ที่ตอบโจทย์การจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21.

วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. ปีที่ 19 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2564). สืบค้นเมื่อ 13

พฤศจิกายน 2565.

กุลยา ตันติผลาชีวะ. (2547). การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย. กรุงเทพฯ: เอดิสัน เพรสโปรดักส์.

สืบค้นเมื่อ 5 พฤศจิกายน 2565.

กุลิสรา จิตรชญาวณิช. (2562). การจัดการเรียนรู้. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สืบค้นเมื่อ 1

พฤศจิกายน 2565.

ไชยยศ เรืองสุวรรณ. (2553). Active Learning. ข่าวสารวิชาการ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

สืบค้นเมื่อ 7 พฤศจิกายน 2565.

ธรรมนูญ นวลจันทร์. (2541). หัวใจแห่งการศึกษาสำหรับเด็ก ๑-๕ ขวบ. กรุงเทพฯ: กำแก้วฯ. สืบค้นเมื่อ 5

พฤศจิกายน 2565.

มานพ ใจติขะ. (2561). คู่มือการฝึกอบรมครูและผู้ดูแลเด็กในการดำเนินการจัดโปรแกรมให้ความรู้

การอบรมเลี้ยงดูเด็กแก่พ่อแม่ ผู้ปกครอง และการจัดบริการให้คำปรึกษาแก่พ่อแม่

ผู้ปกครองของเด็กปฐมวัยช่วงอายุ 2-5 ปี. พิมพ์ครั้งที่ 1. บริษัท วาย.เค.เอช กราฟิก แอนด์

เพรส จำกัด. สืบค้นเมื่อ 20 มกราคม 2566.

วิชัย ประสิทธิ์วุฒิเวชช์. (2542). การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น: สานต่อที่ท้องถิ่น. กรุงเทพมหานคร:

บริษัท เซ็นเตอร์ดิสคัฟ เวอรี่จำกัด. สืบค้นเมื่อ 11 มกราคม 2566.

วิรัช ลภิรัตนกุล. (2546). การประชาสัมพันธ์ฉบับสมบูรณ์ (ปรับปรุงเพิ่มเติมใหม่). พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพ:

สำนักพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สืบค้นเมื่อ 11 มกราคม 2566.

สถาพร พฤฑฒิกุล. (2558). คุณภาพผู้เรียน เกิดจากกระบวนการเรียนรู้. สระแก้ว: คณะเทคโนโลยีการเกษตร

มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว. สืบค้นเมื่อ 20 มกราคม 2566.

สุมน อมรวิวัฒน์. (2533). สมบัติทิพย์ของการศึกษาไทย. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สืบค้นเมื่อ 1 พฤศจิกายน 2565.

สำนักงานคณะกรรมการศึกษาแห่งชาติ. (2543). การปฏิรูปการเรียนรู้: ผู้เรียนสำคัญที่สุด. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุ

สภาลาดพร้าว. สืบค้นเมื่อ 20 มกราคม 2566.

อัจฉรา น้ำไพฑูรย์. (2012). การศึกษาบทบาทครูในการส่งเสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

สำหรับเด็กวัยอนุบาลในเครือโรงเรียนปัญญารุจา เขต 3. OJED, Vol.7, No.1, 2012, pp.

-1565. สืบค้นเมื่อ 1 พฤศจิกายน 2565.

Bruner, J. S. (1969). The Process of Education. Cambridge: Havard University.

สืบค้นเมื่อ 1 พฤศจิกายน 2565.

Freud, Sigmund. (1949). An Outline of Psychoanalysis. New York: W.W. Norton and

Company Inc. สืบค้นเมื่อ 20 มกราคม 2566.

Hough, B., & Duncan, K. (1970). Teaching description and analysis. Addison-Westlu.

สืบค้นเมื่อ 13 พฤศจิกายน 2565.

Icy D’ Silva. (2010). Active learning. Journal of Education Administration and Policy Studies Vol.

(6), pp. 77-82, July 2010. สืบค้นเมื่อ 13 พฤศจิกายน 2565.

Logan, M., & Logan, V.G. (1974). Educational for Young Children. Toronto: McGraw-Hill.

สืบค้นเมื่อ 13 พฤศจิกายน 2565.

McQuail, D. (2005). Mass Communication Theory. London: Sage. สืบค้นเมื่อ 2 พฤศจิกายน 2565.

Wood. J.T. (2000). Communication in our lives. (2nd ed.). Belmont, CA: Wadsworth.

สืบค้นเมื่อ 13 พฤศจิกายน 2565.