การศึกษาความต้องการจำเป็นของการบริหารแหล่งเรียนรู้ด้านประวัติศาสตร์ท้องถิ่นโรงเรียนบ้านปลักไม้ดำ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากำแพงเพชร เขต 1

Main Article Content

กิตติพงศ์ เกิดพิน
นิคม นาคอ้าย

บทคัดย่อ

          การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาความต้องการจำเป็นของการบริหารแหล่งเรียนรู้ด้านประวัติศาสตร์ท้องถิ่นโรงเรียนบ้านปลักไม้ดำ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากำแพงเพชร เขต 1 โดยประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ ผู้บริหารโรงเรียน ครู คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พระภิกษุสงฆ์ ผู้ใหญ่บ้าน สมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบลลานกระบือ และผู้ปกครองนักเรียนโรงเรียนบ้านปลักไม้ดำ ตำบลลานกระบือ อำเภอลานกระบือ จังหวัดกำแพงเพชร จำนวน 136 คน และเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ แบบสอบถามเกี่ยวกับการบริหารแหล่งเรียนรู้ด้านประวัติศาสตร์ท้องถิ่น โดยวิเคราะห์ข้อมูลจาก การบริหารแหล่งเรียนรู้ด้านประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ทั้ง 4 ด้าน คือ 1) ด้านการวางแผนการบริหารแหล่งเรียนรู้ 2) ด้านดำเนินการใช้แหล่งเรียนรู้ 3) ด้านการประเมินการใช้แหล่งเรียนรู้ และ 4) ด้านการพัฒนาการบริหารแหล่งเรียนรู้ โดยแบบสอบถามมีค่าดัชนีความสอดคล้องอยู่ระหว่าง 0.80 - 1.00 และค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับเท่ากับ 0.969 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ค่าดัชนีลำดับความสำคัญของความต้องการจำเป็น(PNI Modified)


          ผลการวิจัยพบว่า ค่าดัชนีลำดับความสำคัญของความต้องการจำเป็น(PNIModified) ด้านการวางแผนการบริหารแหล่งเรียนรู้มีค่าสูงสุดเป็นลำดับแรก(PNIModified =.139) รองลงมาเป็นด้านการประเมินการใช้แหล่งเรียนรู้(PNIModified =.138) ส่วนลำดับที่ต่ำสุดคือด้านดำเนินการใช้แหล่งเรียนรู้(PNIModified =.127)

Article Details

บท
Research Articles

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). ข้อเสนอการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552 - 2561). สำนักนโยบายและแผนการศึกษาฯ: บริษัท พริกหวานกราฟฟิค จำกัด.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไข เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.

กระทรวงศึกษาธิการ. แผนยุทธศาสตร์การศึกษาขั้นพื้นฐาน 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580).

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

กระทรวงศึกษาธิการ. (2564, 29 ธันวาคม). นโยบายการจัดการศึกษาของ กระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566

กระทรวงศึกษาธิการ. (2565, 19 ธันวาคม ). แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนรายวิชา ประวัติศาสตร์ แนบท้ายประกาศกระทรงศึกษาธิการ เรื่อง การบริหารจัดการ โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้และ 1 รายวิชาพื้นฐาน ประวัติศาสตร์ ของ โรงเรียนขั้นพื้นฐาน

กู้เกียรติ แดงสีดา พิมผกา ธรรมสิทธิ์ และวจี ปัญญาใส. (2563). ยุคดิจิทัลกับแนวทางการ บริหารแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา พิษณุโลก เขต 1. วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์, 7(6), 45-59.

ไกรฤกษ์ วิฬาสุวรรณ์, (2565). ความต้องการจำเป็นในการดำเนินการตามระบบดูแล ช่วยเหลือนักเรียน ในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา สงขลา สตูล. สารนิพนธ์ปริญญา มหาบัญฑิต. มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.

กมลพร ภูมิพลับ และต้องลักษณ์ บุญธรรม. (2564). ความต้องการจำเป็นของการบริหาร แหล่งเรียนรู้เพื่อการศึกษา สำหรับโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา. วารสารศิลปะศาสตร์ราชมงคลสุวรรณภูมิ, 3(2),103-117.

กษมาพร ทองเอื้อ (2563). การบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นของโรงเรียน ขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา. วิทยานิพนธ์ ปรัชญาดุษฎี, ปรัชญา ดุฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร.

กุลิสรา จิตรชญาวณิช. (2562). การจัดการเรียนรู้. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.

ขนิษฐา กาตั้ง. (2561). การบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้ เพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนบ้านแม่แดดน้อย อำเภอกัลยาณิวัฒนา จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.

จิรภา อินนารี. (2564). การบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้ โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 2. การค้นคว้า อิสระ, ปริญญา มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยนเรศวร

ชนาศิริ จันทร์น้ำด้วน. (2563). การศึกษาความต้องการจำเป็นและแนวทางการพัฒนาการ ดำเนินงานลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 3. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราช ภัฏ พิบูลสงคราม

ชุติมาพร เชาวน์ไว. (2562). บทบาทของผู้บริหารโรงเรียนในการบริหารแหล่งเรียนรู้ ภายใน โรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดปทุมธานี. วิทยานิพนธ์ครุ ศาสตร์ มหาบัญฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์.

ณิรดา เวชญาลักษณ์. (2565). การบริหารหลักสูตรโรงเรียนเพื่อพัฒนาทักษะผู้เรียนใน ศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ณิรดา เวชญาลักษณ์. (2565). การเขียนรายงานการวิจัยและกรณีศึกษา : องค์ความรู้จาก งานวิจัย เพื่อการประยุกต์ใช้. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ณัฏฐภรณ์ หลาวทอง. (2559). การสร้างเครื่องมือการวิจัยทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ธีรศักดิ์ อุปรมัย อุปไมยอธิชัยและสุชาติ บางวิเศษ. (2563). การบริหารและการจัด การศึกษาสู่ การพัฒนา ที่ยั่งยืน. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยนเรศวร :พิษณุโลก.

ธีรวัฒน์ ศรีวรกุล. (2565). การประเมินความต้องการจำเป็นในการพัฒนาวินัยของนักเรียนใน โรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 3. วิทยานิพนธ์ปริญญา มหาบัญฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

นิคม นาคอ้าย. (2565). การเชื่อมต่อขั้นตอนการวิจัย ด้วย PNI. (เอกสารประกอบการสอน). พิษณุโลก : รองศาสตราจารย์นิคม นาคอ้าย

บุญชม ศรีสะอาด. (2560). การวิจัยการศึกษาเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพ ฯ :

สุวีริยา สาส์น.

ปัทมา จันปัญญา. (2561). การศึกษาปัญหาและแนวทางพัฒนาการจัดการแหล่งเรียนรู้นอก ห้องเรียนของโรงเรียน ในกลุ่มเครือข่ายวังบูรพา จังหวัดสระแก้ว สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7. งานนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา.

ปาริฉัตร สาตรา และศันสนีย์ จะสุวรรณ. (2557). การบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน สังกัดกรุงเทพมหานคร เขตมีนบุรี. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนสุนันทา, 6(1), 7-8.

ประภาส วีระแพทย์. (2553). การอนุรักษ์โบราณสถาน และโบราณวัตถุ. ใน สารานุกรมไทย สำหรับเยาวชน (เล่มที่ 16, หน้า 56-83). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ด่านสุทธากา รพิมพ์

ปริยาภรณ์ ตั้งคุณานันต์. (2563). การจัดการห้องเรียนและแหล่งการเรียนรู้ (CLASSROOM AND LEARNING RESOURCE MANAGEMENT). (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มีน เซอร์วิส ซัพพลาย.

พิมพ์ชนก สีหา และสุภาวดี บาลี. (2564). แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการสำรวจความต้องการ และความคาดหวัง. เข้าถึงได้จาก : https://suandusitpoll.dusit.ac.th/KB/2021/594/ : (วันที่ สืบค้นข้อมูล : 10 เมษายน 2566).

พิเศษ เจียจันทร์พงษ์. (2547). เมืองหลวงเก่าไทย. ใน สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน (เล่มที่ 24, หน้า 88-100). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ด่านสุทธาการพิมพ์

เริงณรงค์ ดวงดีแก้ว. (2565). การประเมินความต้องการจำเป็นในการพัฒนาทักษะการคิด เชิงนวัตกรรมของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดเล็กในจังหวัดนครพนม. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัญฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

วัฒน ลาพิงค์. (2562). การบริหารจัดการแหล่งเรียนรู้ตามศาสตร์พระราชา โรงเรียนราช ประชานุ เคราะห์ 15 (เวียงเก่าแสนภูวิทยาประสาท). การศึกษาอิสระปริญญา มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.

ศูนย์วิจัยและสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน. (2564). เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs). เข้าถึงได้จาก : https://www.sdgmove.com/intro-to-sdgs/: (วันที่สืบค้นข้อมูล : 10 เมษายน 2566).

สถาบันวิจัยเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา. (2564). เมืองแห่งการเรียนรู้. เข้าถึงได้จาก: https://research.eef.or.th/learning-city: (วันที่สืบค้นข้อมูล : 6 เมษายน 2566).

สาวิตรี บุญยพันธ์. (2563). แนวทางการบริหารการจัดการแหล่งเรียนรู้ในชุมชนเขต อำเภอตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุตรดิตถ์ เขต 1. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัญฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์

สาวิตรี โชดก และอรพิณ ศิริสัมพันธ์. (2565). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นตามแนวคิดประวัติศาสตร์บอกเล่า เพื่อส่งเสริมการรับรู้ ความรู้สึกทางประวัติศาสตร์ร่วมกันสำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา. Journal of Humanities and Social Sciences Review (JHSSR), Vol.24 No.1 January- June 2022,), 57- 75.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.

สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2563). แนวทางการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ผ่าน แหล่งเรียนรู้ประวัติศาสตร์ในท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: องค์การสงเคราะห์ทหารผ่าน ศึก ในพระบรมราชูปถัมภ์.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2565). ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี(พ.ศ. 2561-2580). พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขานุการ ของคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ.

สุจิตรา ตองอ่อน สุพัฒนา หอมบุปผา และสาธร ทรัพย์รวงทอง. (2565). การศึกษาปัญหา การ บริหารแหล่งเรียนรู้ของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา พระนครศรีอยุธยา เขต 1. วารสารคณะครุศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.

สุดารัตน์ งามวิลัย. (2561). แนวทางการบริหารแหล่งเรียนรู้ของโรงเรียนกลุ่มสหวิทยาเขตร่ม เกล้า-นวมินทร์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 42. วิทยานิพนธ์ปริญญา, มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.

สุวิมล ว่องวาณิช. (2558). การวิจัยประเมินความต้องการจำเป็น. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อิทธิพัทธ์ สุวทันพรกูล. (2562). การวิจัยทางการศึกษา: แนวคิดและการประยุกต์ใช้ (Educational Research: Concepts and Applications). (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อุบลรัตน์ จับใจนาย. (2564, กันยายน-ตุลาคม). การบริหารแหล่งเรียนรู้ที่ส่งเสริมการจัดการ เรียนการสอนของโรงเรียนดอยหลวง รัชมังคลาภิเษก. วารสารรัชมังคลาภิเษก,

The Urbanis. (2020). เมืองแห่งการเรียนรู้คืออะไรเมื่อการเรียนรู้: การศึกษา. สืบค้น 12 มีนาคม 2566. จาก https://theurbanis.com/public-realm/03/11/2020/3817/.