การบริหารหลักสูตรอิสลามศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษา โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามระดับมัธยมศึกษา ในเขตอำเภออ่าวลึกจังหวัดกระบี่ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน

Main Article Content

มุขตารีย์ กองสิน
สุรศักดิ์ สุทธสิริ
สังวาร วังแจ่ม
ทัศนีย์ บุญมาภิ

บทคัดย่อ

การวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการบริหารหลักสูตรอิสลามศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามระดับมัธยมศึกษาในเขตอำเภออ่าวลึกจังหวัดกระบี่ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน กลุ่มประชากรที่ใช้ในงานวิจัย ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา และครูผู้สอนโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม  ระดับมัธยมศึกษาอำเภออ่าวลึกจังหวัดกระบี่  สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน  จังหวัดกระบี่ ปีการศึกษา 2566 จำแนกเป็นผู้บริหาร จำนวน 4 คน ครูผู้สอน จำนวน   109 คน รวมทั้งสิ้น   113 คน เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ แบบสอบถาม และการสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา


ผลการวิจัย พบว่า การบริหารหลักสูตรอิสลามศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามระดับมัธยมศึกษาในเขตอำเภออ่าวลึกจังหวัดกระบี่ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชนโดยรวม อยู่ในระดับมาก เรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย คือ ด้านการปรับปรุงและพัฒนากระบวนการบริหารหลักสูตร รองลงมาด้านการสรุปผลการดำเนินงานการบริหารหลักสูตร ด้านการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา ด้านการดำเนินการบริหารหลักสูตร ด้านการเตรียมความพร้อมของสถานศึกษา ด้านการนิเทศ กำกับ ติดตาม ประเมินผล และด้านการวางแผนดำเนินการใช้หลักสูตร

Article Details

บท
Research Articles

References

พูนสุข อุดม. (2546). การพัฒนาหลักสูตรวิทยาศาสตรแบบพหุวิทยาการรวมกับวิชาคณิต

ศาสตรและ ภาษาอังกฤษสําหรับชั้นมัธยมศึกษาป1 โรงเรียนจุฬาภรณราช

วิทยาลัยตรัง. ปริญญา นิพนธ หลักสูตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรศึกษา

มหาวิทยาลัยศรีนครินทร วิโรฒ, กรุงเทพ.

นิตยา เปลื้องนุช.(2555).การบริหารหลักสูตร.พิมพ์ครั้งที่2 ขอนแก่น: โรงพิมพ์

มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

พิชยา ทอดทิ้ง. (2559). สภาพปัญหาการบริหารหลักสูตรอิสลามศึกษาแบบเข้มใน

โรงเรียนของรัฐจังหวัดสงขลา. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาการบริหารและการจัดการการศึกษาอิสลาม, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

มูฮัมหมัด อะฎียะฮ อับอิบรอซี. (2554). การศึกษาอิสลาม. สงขลา: นัตวิดาการพิมพ์.

มูฮำมัด มอลอ. (2554). การบริหลักสูตรอิสลามศึกษาแบบเข้มของผู้บริหารสถานศึกษาใน

สามจังหวัดชายแดนภาคใต้. (วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต ไม่ได้

ตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, ปัตตานี

วิชัย วงษ์ใหญ่.(2521).พัฒนาหลักสูตรและการสอน.คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ศรีนครินทรวิโรฒ

วัชรี บูรณสิงห. ( 2542). การบริหารหลักสูตร. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพมหาวิทยาลัยรามคําแหง.

สงัด อุทรานันทร์. (2532).พื้นฐานและหลักการพัฒนาหลักสูตร. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มิตรสยาม.

สันต์ ธรรมบำรุง. (2525). หลักสูตรและการบริหารหลักสูตร. กรุงเทพฯ: นรสิงห์

สมนึก ธาตุทอง.(2548).เทคนิคการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา.เพชรเกษมการพิมพ์.

กษมา ชนะวงศ์. (2564). รูปแบบการบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาเพื่อส่งเสริม

คุณลักษณะในศตวรรษที่ 21 ของนักเรียนโรงเรียนเอกชน. วิทยานิพนธ์ สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). แนวทางการบริหารจัดการหลักสูตรตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2547). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542

แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2545 (ฉบับที่ 3) พุทธศักราช 2553 (ฉบับที่ 4) พุทธศักราช 2562 กรุงเทพมหานคร: กระทรวงศึกษาธิการ.

บุญชม ศรีสะอาด. (2560). การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.

พระบุญลัท สุวรรณเดช. (2561). การบริหารงานวิชาการของโรงเรียนสังกัดสำนักงาน

เขตบางบอน กรุงเทพมหานคร วิทยานิพนธ์ สาขาวิชาบริหารการศึกษาและผู้นำ

ทางการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสยาม

พิสนุ ฟองศรี. (2552). การสร้างและพัฒนาเครื่องมือวิจัย กรุงเทพมหานคร: บริษัทด่าน

สุธาการ พิมพ์จำกัด

ยุทธพงษ์ กัยวรรณ์. (2543). พื้นฐานการวิจัย กรุงเทพมหานคร: สุวีริยาสาสน์จัดพิมพ์.

รังสันต์ โยศรีคุณ. (2556). การบริหารหลักสูตรสถานศึกษาของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิ. สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัย มหามกุฏราชวิทยาลัย

สาคร พิมพร. (2551). การศึกษากระบวรการบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาของ

โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาศรีสะเกษ เขต 3. วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิตมหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์

สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน. (2564). รายงานผลการประเมินตนเอง

ของโรงเรียนเอกชนประเภทสามัญศึกษา. สำนักงานฯ

กระทรวงศึกษาธิการ.(2551). คู่มือการใช้หลกัสูตรสังคมศึกษา พ.ศ. 2551 ตามหลักสูตร

แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551. กรุงเทพมหานคร :โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตร แห่งประเทศไทยจำกัด

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). คู่มือการใช้หลกัสูตรอสิลามศึกษา พ.ศ. 2551 ตามหลกัสูตร

แกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551. กรุงเทพมหานคร :โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตร แห่งประเทศไทยจำกัด