เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับการจัดการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์ ในศตวรรษที่ 21
Main Article Content
บทคัดย่อ
การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการจัดการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ในศตวรรษที่ 21 เทคโนโลยีมีความสำคัญและจำเป็น เนื่องจากในศตวรรษที่ 21 เทคโนโลยีมีบทบาทกับผู้เรียนเป็นอย่างมากในการเรียนรู้ทางอินเทอร์เน็ต โดยเฉพาะวิชาวิชาคณิตศาสตร์ได้มีการนำแอปพลิเคชัน GeoGebra ซึ่งเป็นแอปพลิเคชันแบบโอเพนซอร์ส (Open source) ที่ออกแบบมาพิเศษสำหรับการเรียนรู้และการสอนที่เกี่ยวข้องกับวิชาคณิตศาสตร์ในทุกสาระ ได้แก่ สาระจำนวนและพีชคณิต สาระการวัดและเรขาคณิต สาระสถิติและความน่าจะเป็น และสาระแคลคูลัส รวมถึงการใช้สูตรคำนวณหาค่าต่างๆ และกระบวนการประยุกต์ใช้ของคณิตศาสตร์ในรูปแบบที่หลากหลายได้อย่างละเอียด และแอปพลิเคชัน Photomath ซึ่งเป็นแอปพลิเคชันที่เกี่ยวข้องกับการแสดงกระบวนการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ได้อย่างหลากหลายวิธีมาใช้ในการจัดการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจในเนื้อหารายวิชา ตลอดจนการทำความเข้าใจกระบวนการแก้ปัญหาที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้นใน อีกทั้งยังเป็นประโยชน์ต่อตัวผู้ผู้สอนที่มีเครื่องมือในการเตรียมการสอนที่มีประสิทธิภาพในการนำไปใช้เพื่อพัฒนาผลการเรียนรู้ของผู้เรียนได้อย่างสูงสุด
Article Details
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ : กระทรวงศึกษาธิการ
_______. (2560). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.
ธนพัฒน์ ทองมา. (2561). “แหล่งการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบโมบายเลิร์นนิ่งในยุคดิจิทัล”.
วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 46(1) มกราคม-มีนาคม 2561, 251-256.
พิเดช ปรางทอง. (2565). ศาสตร์การสอนออนไลน์. เชียงใหม่ฯ : เชียงใหม่การพิมพ์.
วิจารณ์ พานิช. (2556). การสร้างการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสยามกัมมาจล.
วีริศ กิตติวรากูล. (2561). การศึกษาความรู้เชิงมโนทัศน์และความสามารถในการพิสูจน์ เรื่อง
วงกลมของผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดการเรียนการสอนด้วยวิธีการ
สร้างข้อความคาดการณ์และพิสูจน์ร่วมกับโปรแกรม GeoGebra. บัณฑิตวิทยาลัย :
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
วุฒิชัย ภูดี. (2563). “การสอนคณิตศาสตร์ในยุคดิจิทัล: วิธีการและเครื่องมือ”. วารสารการ
วิทยาศาสตร์และวิทยาศาสตร์ศึกษา, 3(2) กรกฎาคม- ธันวาคม 2563, 190 – 199.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2563). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน
คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1 (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์
สกสค. ลาดพร้าว.
สำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้. (2563). “สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตในยุค
ดิจิทัล". นิตยสารเดอะโนวเลจ, 3(12) ธันวาคม 2566- มกราคม 2563, 22 – 23.
สุภัตรา ทรัพย์อุปการ. (2562). Photomath แอปที่คนรักคณิตศาสตร์ต้องมี,
https://www.scimath.org/article-mathematics/item/9580-2018-12-13-07-
-02 (สืบค้นวันที่16 พฤษภาคม 2567).
อัญญาณี สุมน และอุทิศ บำรุงชีพ. (2561). “วิถีแห่งการคิดทางคณิตศาสตร์โดยประยุกต์ใช้
เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการเรียนรู้เชิงรุกสำหรับการศึกษาไทย 4.0”. วารสารการศึกษา
และการพัฒนาสังคม 13(2) มกราคม-มิถุนายน 2561, 14 – 29.