สมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษา ที่ส่งผลต่อความเป็นเลิศทางวิชาการของผู้เรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครศรีธรรมราช
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษา เพื่อศึกษาความเป็นเลิศทางวิชาการของผู้เรียน และเพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาสมรรถนะของผู้บริหารที่ส่งผลต่อความเป็นเลิศทางวิชาการของผู้เรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครศรีธรรมราช กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูผู้สอนในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครศรีธรรมราช จำนวน 338 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ
Article Details
References
เกียรติอนันต์ ล้วนแก้ว. (2560). "เมื่อThailand 4.0 ถูกขับเคลื่อนด้วย Education 2.0,". วารสาร
สานปัญญา 26(12) 4
จันทร์จิรา สระแดง. (2565). การบริหารสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการ ของสถานศึกษา
กลุ่มเครือข่ายหัวไทร 2 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช
เขต 3. วารสารวิชาการ มจร บุรีรัมย์, 7(2) 148-158
ทิพวัลย์ อ่างคำ. (2561). สมรรถนะผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาในโครงการสู่ความเป็นเลิศ
มาตรฐานสากล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาภาคเหนือ. บัณฑิตวิทยาลัย :
มหาวิทยาลัยสยาม.
เทื้อน ทองแก้ว. (2556). สมรรถนะ Competency : หลักการและแนวปฏิบัติ. กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต.
นาวิน พินิจอภิรักษ์. (2564). สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในสังกัดสำนักงานเขต
พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทราปราการ เขต 1. วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ฯ, 8(2),
-341
พัชรี จันจำปา. (2563). ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ที่ส่งผลต่อความเป็นเลิศทางวิชาการของสถานศึกษา
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 13. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัย
ราชภัฏนครศรีธรรมราช
พัชรี จันจำปา. (2563). ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ที่ส่งผลต่อความเป็นเลิศทางวิชาการของสถานศึกษา
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 13. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัย
ราชภัฏนครศรีธรรมราช
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2561). แนวทางการดำเนินงานโรงเรียน
มาตรฐานสากล. [Online] Available: http://www.thaischool.in.th/_files_
school/ 32100474/document/32100474_0_20181109-075626.pdf, [2024,
อณัส ซาดัสคาน. (2565) การบริหารสถานศึกษาสู่โรงเรียนมาตรฐานสากล สังกัดสำนักงานเขต
พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครศรีธรรมราช. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฏ
นครศรีธรรมราช.
อัญชลี หมอแพทย์. (2559) สมรรถนะทางการบริหารของผู้บริหารกับคุณภาพผู้เรียนโรงเรียน
มาตรฐานสากล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 8. บัณฑิตวิทยาลัย :
มหาวิทยาลัยศิลปากร.
Abbasi, A.S., Kashif (2014). Lslamic Management Model. African Journal of
Business Management, 4(9), 1873-1882
Hallinger. (1985). Assessing the Instructional Management Behavior of Principals.
The Elementary School Journal, 86, 217-247
Izumi. (2002). They have overcome: High-Poverty, High-Performing schools in
California (California: Pacific Research Inst. Abstract).
Kennedy and Dresser. (2015). The Competency Management: Creating a Competency-
based Workplace. San Francisco: Berrett-Koehler Publishers, Inc
Mcsilvan. (1986). Improving the instructional leadership of elementary principals
through in-service training. Dissertation Abstracts International, 47,
-A.