การพัฒนารูปแบบการบริหารงานวิชาการตามแนวคิดการบริหารเชิงกลยุทธ์ และชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) เพื่อยกระดับคุณภาพผู้เรียนโรงเรียนอนุบาลโคกใหม่ละหานทราย
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการใช้รูปแบบการบริหารงานวิชาการตามแนวคิดการบริหารเชิงกลยุทธ์และชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ(PLC)เพื่อยกระดับคุณภาพผู้เรียน ใช้วิธีวิจัยแบบผสาน ผลการวิจัยพบว่า การใช้รูปแบบการบริหารงานวิชาการตามแนวคิดการบริหารเชิงกลยุทธ์และชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ(PLC)เพื่อยกระดับคุณภาพผู้เรียน(ESIEPCL Model) ก่อนและหลังการใช้รูปแบบฯ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และผลการศึกษาความพึงพอใจต่อรูปแบบการบริหารงานวิชาการตามแนวคิดการบริหารเชิงกลยุทธ์และชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ(PLC)เพื่อยกระดับคุณภาพผู้เรียนของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานคณะครู ผู้ปกครองนักเรียน และนักเรียน อยู่ในระดับมากที่สุด
Article Details
References
กมลรัตน์ แก่นจันทร์. (2560). การพัฒนารูปแบบการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 3. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
เบญจมาศ ตันสูงเนิน. (2561). “การบริหารเชิงกลยุทธ์ในสถานศึกษา,” ใน การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ GRADUATE SCHOOL CONFERENCE 2018. 319-326.
ปัญญากร เวชชศาสตร์. (2565). รูปแบบการบริหารเชิงกลยุทธ์เพื่อพัฒนาสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศ สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดปทุมธานี. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ.
พระมหาสิริวัฒนา สิริวัชรวรกุล. (2563). รูปแบบการบริหารเชิงกลยุทธ์ของวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชน ในสังคมแห่งการเรียนรู้ จังหวัดนครนายก. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ.
พีระ รวดเร็ว. (2565). “การพัฒนารูปแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ แบบสร้างสรรค์เป็นฐานของครูระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน,” e-Journal of Education Studies, Burapha University. 4(2): 1-18.
วิชัย วงษ์ใหญ่ และมารุต พัฒผล. (2562). การพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community: PLC). กรุงเทพฯ: ศูนย์ผู้นำนวัตกรรมหลักสูตรและการเรียนรู้.
ศุภวิชญ์ ดิษเจริญ. (2563). รูปแบบการบริหารชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
สัมมา รธนิธย์. (2560). หลักทฤษฎีและปฏิบัติการบริหารการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: ข้าวฟ่าง.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2554). การวางแผนเชิงกลยุทธ์เอกสารประกอบ การอบรมการบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579. กรุงเทพฯ: บริษัท พริกหวานกราฟฟิค จำกัด.
สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย. (2562). มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา พ.ศ. 2560 (ปรับปรุง พ.ศ.2562).กรุงเทพฯ: สำนักบริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลาย สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
สุประวีณ์ ทิพย์โพธิ์. (2563). รูปแบบการบริหารงานวิชากาสรสู่ความเป็นเลิศของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ.
สุภาภรณ์ มั่นเกตุวิทย์. (2557). การพัฒนารูปแบบการบริหารเชิงกลยุทธ์แบบมีส่วนร่วม สำหรับโรงเรียนที่จัดการศึกษาร่วมกัน. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
อรทัย แสงลุน. (2564). การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมความสามารถในการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครูโดยใช้การศึกษาชั้นเรียนผ่านชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยนเรศวร.
อรุชา พึ่งอินทร์. (2564). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมจรรยาบรรณวิชาชีพครูสำหรับนักศึกษา คณะครุศาสตร์โดยการประยุกต์ใช้รูปแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ (PLC). บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยบูรพา.
Stufflebeam, D.L. & et al. (1983). Educational Evaluation and Decision Making. Illinois : F.E. Peacock Publishing.