การศึกษากลยุทธ์การบริหารตามโครงสร้างซีท (SEAT Framework) “พหุกรณีศึกษาโรงเรียนต้นแบบเรียนรวม” สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2

Main Article Content

บุษยากร ขอห้องกลาง
สุชาดา บุบผา

บทคัดย่อ

การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจำเป็นกลยุทธ์การบริหารตามโครงสร้างซีท (SEAT Framework) โรงเรียนเรียนรวม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 2) เพื่อศึกษากลยุทธ์การบริหารตามโครงสร้างซีท (SEAT Framework) โรงเรียนต้นแบบเรียนรวม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน รวมทั้งสิ้น จำนวน 123 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ และแบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้างผู้ให้ข้อมูล จำนวน 8 คน ผลการวิจัยพบว่า สภาพปัจจุบันโดยภาพรวมอยู่ในระดับมากทุกด้าน เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ด้านกิจกรรมการเรียนการสอน (A-Activities) สภาพที่พึงประสงค์กลยุทธ์การบริหารตามโครงสร้างซีท (SEAT Framework) โรงเรียนเรียนรวม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ด้านนักเรียน (S-Student) การจัดลำดับความต้องการจำเป็นกลยุทธ์การบริหารตามโครงสร้างซีท (SEAT Framework) โรงเรียนเรียนรวม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 พบว่า ด้านนักเรียน (S-Student)  เป็นลำดับที่ 1

Article Details

บท
Research Articles

References

กรรณิกา มีลา (2560). แนวทางการบริหารการจัดการเรียนรวมในโรงเรียน สังกัดสำนักงาน

เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). หลักเกณฑ์และวิธีการจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล

ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2552. กรุงเทพฯ.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2)

พ.ศ.2545 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553. กรุงเทพฯ: กระทรวงฯ.

จีรนันท์ อัคบาล. (2553) ปัญหาและแนวทางการดำเนินงานการศึกษาพิเศษโรงเรียนเรียนร่วม

สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแก้ว เขต 1. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยบูรพา.

ธาตุรงค์ เจริญนำ (2558), การศึกษาสภาพการบริหารจัดการเรียนร่วมโดยใช้โครงสร้างชีท (SEAT)

และแนวทางการพัฒนาการดำเนินงานของโรงเรียนจัดการเรียนร่วมในสถานศึกษาขั้น พื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

บรรจง อักขราสา (2550), สภาพการดำเนินงานจัดการเรียนร่วมโดยใช้โครงสร้างชีพ (SEAT)

สำหรับบุคคลออทิสติกในโรงเรียนแกนนำจัดการเรียนร่วมสังกัดสานักงานเขตพื้น การศึกษาขอนแก่นเขต 1-5, บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ผดุง อารยะวิญญู. (2542). การศึกษาสำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ:

ผดุง อารยะวิญญู และวาสนา เลิศศิลป์ (2550) แนวทางการจัดการเรียนรวม, กรุงเทพฯ

พระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการ พุทธศักราช 2551 เล่มที่ 125 ตอนที่ 28 ก

วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2551.

ไพริน ปุกมะ (2553). การศึกษาการจัดการเรียนรวมในโรงเรียนแกนนำระดับประถมศึกษา

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

รดา ธรรมทูนพิสัย (2556) สภาพปัญหาและแนวทางการจัดการเรียนร่วมในโรงเรียนแกนนำจัดการ

เรียนร่วมสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลักราชภัฏสงขลา.

โรงเรียนบ้านตูม. รายงานผลการประเมินตนเองโรงเรียนบ้านตูม ประจำปี 2565.

โรงเรียนชุมชนจำปี. รายงานผลการประเมินตนเองโรงเรียนชุมชนจำปี ประจำปี 2565.

สกาวรัตน์ คันดินีรนาท (2549). การศึกษาสภาพและปัญหาการบริหารโรงเรียนบ้านน้ำจัดการเรียนร่วมของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เขตภาคกลาง. บัณฑิตวิทยาลัย : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุชาดา บุบผา. (2555). การพัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาแบบเรียนรวม (Inclusive Education) ในประเทศไทย. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

สุชาดา บุบผา (2557). การศึกษาแบบเรียนรวม, อุดรธานี : มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2. (2565).รายงานผลการดำเนินงาน

ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565. อุดรธานี.

สมจิต ไชยเชษฐ. (2561). การบริหารงานโรงเรียนต้นแบบการเรียนรวมในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่

การศึกษาประถมศึกษาลำพูนเขต 2 ตามวงจรคุณภาพ (PDCA). เชียงใหม่.

อุไลวรรณ ทานนท์. (2556). การศึกษาการดำเนินงานการจัดการเรียนร่วมในสถานศึกษาเอกชน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

Diesel, I. (2007). Inclusive education Moving from theory to practice. A paper

Prepared for The First National Convention on inclusive Education.

Bangkok : Srinakharinwirot University.

Deming, W. Edwards. (1986). Out of the Crisis. MIT Press.