พุทธศาสนากับศาสตร์สมัยใหม่
คำสำคัญ:
ศาสตร์สมัยใหม่, บูรณาการบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาพุทธศาสนากับศาสตร์สมัยใหม่ 2) เพื่อวิเคราะห์พุทธศาสนากับศาสตร์สมัยใหม่ 3) เพื่อบูรณาการพุทธศาสนากับศาสตร์สมัยใหม่ ผลการศึกษา พบว่า พุทธศาสนากับศาสตร์สมัยใหม่มีความสอดคล้องกัน เพราะทั้งสองศาสตร์มุ่งสร้างความสุขให้กับมนุษย์ โดยศาสตร์สมัยใหม่มุ่งสร้างความสุขทางกายเป็นหลัก ส่วนพุทธศาสนามุ่งสร้างความสุขทางใจเป็นหลัก แต่ทั้งสองศาสตร์สามารถบูรณาการใช้ร่วมกันได้อย่างเหมาะสม โดยการบูรณาการด้วยใช้ปัญหาที่ต้องการแก้ไขเป็นตัวตั้ง แล้วนำพุทธศาสนาและศาสตร์สมัยใหม่มาเป็นเครื่องมือในการจัดการกับปัญหา
References
ปรีชา วงศ์ชูศิริ. ปรัชญาวิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ. มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2532.
พระมหาหรรษา ธมฺมหาโส. พระพุทธศาสนากับวิทยาการสมัยใหม่ : ตัวแบบวิธีวิทยาว่าด้วยพุทธบูรณาการและพุทธสหวิทยาการ. จากhttp://www.mcu.ac.th/site/ articlecontent_desc.php?article_id=1733& articlegroup_ id=278. เข้าถึงข้อมูลเมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2561.
พิมพิลัย หงษาคำ. หลักการพระพุทธศาสนากับหลักการวิทยาศาสตร์ (ออนไลน์). จาก https://sites.google.com/site/fon5481136057/hnwy-thi-1/1-2. เข้าถึงข้อมูลเมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2561.
มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย. (2525). พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล ชุด 91 เล่ม. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหามกุฎราชวิทยาลัย.
วัชระ งามจิตรเจริญ. พระพุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์ (ออนไลน์), http://kengkkoo.blogspot.com/ 2013/03/blog-post.html. เข้าถึงข้อมูลเมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2561.
วัดเจ็ดเสมียน. พระพุทธเจ้าในสายตานักปราชญ์โลก (ออนไลน์). https://plus.google.com. เข้าถึงข้อมูลเมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2561.
สมภาร พรมทา. พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาฯ, 2534.
เอื้อน เล่งเจริญ. โลกทรรศน์ในพระพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ. โอเอส พริ้นติ้งเฮ้าส์, 2537.
Kirthisinghe, Buddhadasa P. Buddhism and Science. Delhi: Motilal Banarsidass Publishers, 1993.
P.A.Payutto.Buddhist Solutions for the Twenty-First Century.Bangkok: Buddhadhamma Foundation. 1994.
______. Toward Sustainable Science: A Buddhist Look at Trends in Scientific Development. Buddhadhamma
Foundation. 1993.