ศาสตร์พระราชากับการพัฒนาท้องถิ่น
ศาสตร์พระราชากับการพัฒนาท้องถิ่น
คำสำคัญ:
ศาสตร์พระราชา, การพัฒนาท้องถิ่น, ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อแสดงให้เห็นถึงการใช้ศาสตร์พระราชาในการพัฒนาท้องถิ่นเพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาที่ต้นเหตุและยั่งยืน ไม่ต้องพึ่งพาระบบเศรษฐกิจมหัพภาค ซึ่งท้องถิ่นนับว่าเป็นหน่วยการปกครองที่เล็กที่สุด และมีความสำคัญมาก เนื่องจากเป็นฐานรากของประเทศ การพัฒนาท้องถิ่นจึงนับว่ามีความสำคัญอย่างนี้ และในสถานการณ์ปัจจุบันในยุคสมัยที่สภาวะเศรษฐกิจไม่ค่อยสู้ดี อันเนื่องมากจากสภาวะเศรษฐกิจโลก ได้ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจฐานรากเป็นอย่างมากโดยเฉพาะผู้คนในชนบทที่ได้รับผลกระทบหลายด้าน เช่น ราคาพืชผลทางการเกษตรตกต่ำ ราคาสินค้าที่มีราคาสูงขึ้น ซึ่งมีผลกระทบต่อค่าครองชีพที่สูงขึ้น ดังนั้นการใช้ศาสตร์พระราชามาช่วยแก้ไขปัญหาดังกล่าว จึงเป็นการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน
References
พระครูวิบูลสีลพรต (สมหมาย อาสโภ/โนนน้อย) และพระมหามิตร ฐิตปญฺโญ, (2563). ศาสตร์พระราชากับการพึ่งตนเอง. วารสารวิชาการธรรมทรรศน์, 19(4) 166-176.
เดชา ปุญญบาล. (2560). 9 ตามรอยบาท ศาสตร์พระราชา. วารสารสมาคมนักวิจัย, 22(2), 13-20.
มูลนิธิชัยพัฒนา. (2563). https://www.chaipat.or.th/site_content/item/283-self-reliance.html สืบค้นเมื่อ 10 พฤษภาคม 2563.
สำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561-2580 (ฉบับย่อ). (2563) สืบค้นเมื่อ 10 พฤษภาคม 2563.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2554). พระมหากษัตริย์นักพัฒนาเพื่อประโยชน์สุขสู่ปวงประชา. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
สุเมธ ตันติเวชกุล. (2554). สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ การทรงงานพัฒนาประเทศของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ : ศูนย์การพิมพ์เพชรรุ่ง.