การวิเคราะห์แนวคิดธรรมาภิบาลการเงินการคลังผ่านมาตรการส่งเสริมการบริโภคและการท่องเที่ยวในประเทศของภาครัฐ
คำสำคัญ:
นโยบายการคลัง, ธรรมาภิบาลการเงินการคลัง, มาตรการชิม ช้อป ใช้บทคัดย่อ
บทความทางวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์แนวคิดธรรมาภิบาลการเงินการคลัง ผ่านมาตรการส่งเสริมการบริโภคและการท่องเที่ยวในประเทศของภาครัฐ ซึ่งเป็นผลจากเศรษฐกิจของประเทศไทยที่ชะลอตัวในช่วงปี พ.ศ. 2562 รัฐบาลจึงได้ออกมาตรการเพื่อกระตุ้นการบริโภคและการลงทุนภายในประเทศ การใช้จ่ายในภาคการท่องเที่ยว ส่งเสริมการลงทุนของ SMEs และภาคเอกชนผ่านมาตรการทางการเงิน และมาตรการทางภาษี (มาตรการชิม ช็อป ใช้) ซึ่งสาระของการวิเคราะห์ประกอบด้วย 4 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่หนึ่งนโยบายการคลัง ส่วนที่สองธรรมาภิบาลการเงินการคลัง ส่วนที่สามมาตรการส่งเสริมการบริโภคและการท่องเที่ยวในประเทศของภาครัฐ (มาตรการชิม ช้อป ใช้) และส่วนที่สี่บทเรียนและความท้าทายของมาตรการส่งเสริมการบริโภคและการท่องเที่ยวในประเทศของภาครัฐ
References
กระทรวงการคลัง. (2562). รายงานประจำปีกระทรวงการคลัง ปีงบประมาณ 2562. สืบค้น 30 ตุลาคม 2563, จาก https://www.mof.go.th/th/ebooks/viewfilp/24a1023905b7acd4b064765cde5a79eae2a638b9483236cfd1/th
กระทรวงการคลัง. (2563). มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ ปี 2562. สืบค้น 30 ตุลาคม 2563, จาก https://www.mof.go.th/th/view/attachment/file/3133393030/230819%20ก.คลัง%20%2342_HP_มติชน.pdf
กองสารนิเทศ สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย. (2563). ข้อมูลข่าวสารเพื่อสร้างการรับรู้สู่ชุมชน. สืบค้น 29 ตุลาคม 2563, จาก http://www.pr.moi.go.th/documents/2562/CitizenKnowledge27-2562.pdf
ชิดชนก อันโนนจารย์. (2563). รายงานการวิเคราะห์แนวโน้มเศรษฐกิจภูมิภาคเอเชีย พ.ศ. 2563 : Asian Development Outlook 2020. สืบค้น 3 พฤศจิกายน 2563, จาก https://www.adb.org/sites/default/files/related/175166/ADO%202020%20Thailand%20Country%20Chapter%20%28Translation%29.pdf
ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2562). รายงานนโยบายการเงิน ฉบับเดือนกันยายน 2562. สืบค้นเมื่อ 3พฤศจิกายน 2563, จาก https://www.bot.or.th/Thai/PressandSpeeches/Press/2019/Pages/n5662.aspx
นิด้าโพล. (2562). ชิมช้อปใช้เฟส 2...ถูกใจหรือไม่. สืบค้น 3 พฤศจิกายน 2563, จาก https://nidapoll.nida.ac.th/survey_detail?survey_id=68
ธีรภัทร์ เสรีรังสรรค์. (2549). การป้องกันการทุจริตคอร์รัปชั่นในหน่วยงานระดับกรมหรือเทียบเท่า ด้วยเทคนิคการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (รายงานผลการวิจัย). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ผู้จัดการออนไลน์. (2562). อุตตม แจงทำงบฯ ปี 63 โว ชิมช้อป ใช้ กระตุ้นเศรษฐกิจได้จริง. สืบค้น 1 พฤศจิกายน 2563, จาก https://mgronline.com/politics/detail/9620000100188
เยาวนุช วิยาภรณ์. (2562). วินัยการเงิน การคลัง. สืบค้น 3 พฤศจิกายน 2563, จาก http://www.stabundamrong.go.th/web/book/62/b1_62.pdf
ลวรณ แสงสนิท. (2562). ชิม ช้อป ใช้ เฟส 1 – 3 ผลตอบรับดีต่อเนื่อง. กรุงเทพธุรกิจ. สืบค้น 1 พฤศจิกายน 2563, จาก https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/856489utm_source=categogy&utm_medium=internal_referral&utm_campaign=economic.
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (2562ก). ชิม ช้อป ใช้ เฟส 1 ลดภาระค่าครองชีพ?. สืบค้น 30 ตุลาคม 2563, จาก https://kasikornresearch.com/th/analysis/k-social-media/Pages/FB-shimshop-11-10-2019-1.aspx
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (2562ข). ชิม ช้อป ใช้ เฟส 2 ช่วยประคองการบริโภคในประเทศ. สืบค้น 30 ตุลาคม 2563, จาก https://kasikornresearch.com/th/analysis/k-social-media/Pages/FB-Shim2-28-10-19.aspx
สัญญา เคณาภูมิ และ วัชราภรณ์ จันทะนุกูล. (2559). การจัดการการคลังภาครัฐ. วารสารคณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม, 1(2), 173-199.
สุรพันธ์ ธีรสัจจานันท์. (2563). การศึกษาการดำเนินนโยบายโครงการ ชิม ช้อป ใช้ ในประเทศไทย. วารสารรังสิตบัณฑิตศึกษาในกลุ่มธุรกิจและสังคมศาสตร์, 6(2), 213-227.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. (2552). คู่มือการจัดระดับการกำกับดูแลองค์การภาครับตามหลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance Rating). กรุงเทพฯ: พรีเมียร์ โปร.
สุนทร ราชวงศ์ศึก. (2533). ทฤษฎี และนโยบายการคลัง Fiscal Theory and Policy (พิมพ์ครั้งที่ 2).กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
Argy, F. (2001). Structural Fiscal Targeting and Good Governance. Retrieved November 3, 2020, from http://library.bsl.org.au/jspui/bitstream/123456789/374/1/structural.pdf
Garcia-Swartz, D. D., Hahn, R. W., & Layne-Farrar, A. (2006). The Move Toward a Cashless Society: A Closer Look at Payment Instrument Economics. Review of Network Economics, 5(2), 175-198.
World Bank. (1992). Governance and Development. Washington D.C.: The World Bank.