การเปลี่ยนผ่านทางการเมืองสู่ความเข้มเข็งประชาธิปไตยของไทย

ผู้แต่ง

  • สุธี โกสิทธิ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา
  • ตราดุลย์ นรนิติผดุงการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

คำสำคัญ:

การเปลี่ยนผ่านทางการเมือง, ความเข้มเข็งประชาธิปไตย, ประชาธิปไตยของไทย

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้ผู้เขียนมุ่งนำเสนอการเปลี่ยนผ่านสู่ความเข้มเข็งประชาธิปไตยของไทย ดังนี้ 1) การเปลี่ยนผ่านประชาธิปไตยที่เน้นให้ความสำคัญกับรัฐธรรมนูญที่ส่งผลให้เกิดการปกครองที่มีการควบคุมการใช้อำนาจทางการเมือง ได้แก่ การคัดสรรผู้นำการเมือง การกำหนดนโยบายสาธารณะ ความมั่นคงภายในการป้องกันประเทศ การสร้างหน่วยงานพลเรือนที่เชี่ยวชาญความมั่นคง การวางแผนการป้องกันประเทศตามที่ระบุไว้ในรัฐธรรมนูญ และสร้างพรรคการเมืองให้มีประชาธิปไตยทีเข้มแข็ง 2) การเปลี่ยนผ่านประชาธิปไตยในการสร้างคุณภาพและเสถียรภาพยั่งยืน เน้นความมีเสถียรภาพทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยและหลักการความเป็นประชาธิปไตย 3) การสร้างความเข้มแข็งให้กับประชาธิปไตย ควรพัฒนากระบวนการการปกครองระบอบเผด็จการมาสู่การสร้างความเข้มแข็งให้กับประชาธิปไตย และควรศึกษาโครงสร้างทางการเมืองหรือสังคมที่ชัดเจน 4) การเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับสังคมสู่ความเข้มแข็งประชาธิปไตย เน้นบทบาทสำคัญในการยึดหลักในการนำการเปลี่ยนผ่าน 5) สถาบันการเมืองเพื่อการเปลี่ยนผ่านสู่ประชาธิปไตยที่เข้มแข็งของไทย เน้นการพัฒนาประชาธิปไตยให้ยั่งยืนภายใต้กระบวนการทำให้เป็นประชาธิปไตยซึ่งเป็นสถาบันทางการเมืองตามระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยของไทยที่มีอำนาจหน้าที่ตามที่รัฐธรรมนูญและกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญบัญญัติไว้ อาทิ รัฐบาล องค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ พรรคการเมือง รัฐสภา และศาล

References

ชาญชัย จิตรเหล่าอาพร. (2557). ความเป็นสถาบันทางการเมืองของรัฐสภาไทย. วารสารสหวิทยาการวิจัย: ฉบับบัณฑิตศึกษา, 3(1), 33-44. https://so03.tci-thaijo.org/index.php/JIRGS/article/view/225670

ทวี สุรฤทธิกุล. (2561). เสถียรภาพ ประสิทธิภาพ ความชอบธรรม. สยามรัฐออนไลน์. https://siamrath.co.th/n/34841

นฤมล อนุสนธิ์พัฒน์ และธีรพงศ์ ไชยมังคละ. (2564). วิเคราะห์เศรษฐศาสตร์การเมืองของไทย. วารสารนวัตกรรมการบริหารและการจัดการ, 9(1), 1-10. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/RCIM/article/view/243359

พระครูรัตนสุตาภรณ์. (2561). ประชาธิปไตยภายใต้กระแสยุคเปลี่ยนผ่านอานาจการเมืองการบริหารไท ในยุครัฐบาล คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.). วารสารนวัตกรรมการศึกษาและการวิจัย, 2(2), 59-68. https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jeir/article/view/247298

มนตรี กนกวาร. (2560). การเปลี่ยนผ่านไปสู่ประชาธิปไตย: บทเรียนจากสเปนและชิลีหลักสูตรหลักนิติธรรมเพื่อประชาธิปไตย. สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ.

วรวลัญช์ โรจนพล. (2563). การเปลี่ยนผ่านสู่ประชาธิปไตยและการสร้างความเข้มแข็งให้กับประชาธิปไตย. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

วิทยา จิตนุพงศ์. (2560). ความมั่นคงทางการเมืองของระบอบประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร, 8(2), 280-287. https://so01.tci-thaijo.org/index.php/AJPU/article/view/97959

วิทยากร เชียงกูล. (2557). ปฏิรูปประเทศ เศรษฐกิจ-การเมือง. บุ๊ค ด็อท คอม.

สมชาย ชูเมือง. (2565). เสถียรภาพทางการเมืองของรัฐบาลพลเรือน. วารสารสิรินธรปริทรรศน์, 23(1), 337.

สมภพ ระงับทุกข์. (2564). การปกครองระบอบประชาธิปไตยกับสถาบันทางการเมืองไทยในยุครัฐธรรมนูญ 2560. วารสารปรัชญาปริทรรศน์. 26(2), 205-215. https://so05.tci-thaijo.org/index.php/phiv/article/view/253245

สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ. (2565). การพัฒนาเครื่องมือทางสังคมไทยที่เน้นประชาธิปไตย. สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ.

Donald, F. (1987). Experiential Approach Organization. Macmillan.

Doorenspleet, R., & Kopecky, P. (2008). Against the Odds: Deviant Cases of Democratization. Democratization, 15(4),697-713.

Easay. (2019). Approaches to democratic transition: The Concept of Wave. http://www.essay.uk.com/essays/politics/approaches-democratic-transition-concept-wave

Huntington, S. P. (1991). The Third Wave: Democratization in the Late Twentieth Century. University of Oklahoma Press.

John, Girling. (1997). Thailand in Gramscian Perspective. Pacific Affairs, 5(7) : 385-403.

Juan J. L., & Alfred Stepan. (2019). Problems of democratic transition and consolidation: Southern Europe, South America, and post-communist Europe. Baltimore: Johns Hopkins Univ. Press.

Karla López de Nava. (2019). Economic Development, Elite Behavior and Transitions to Democracy. Retrieved From www.stanford.edu.

Larry, Diamond and Marc, F. (2001). Democratisation in Africa. USA: The African Studies Centre.

Linz, Juan and Alfred, S. (1996). Toward Consolidated Democracy. Journal of Democracy, 7(2), 14-33.

Paul, B., & Joe, C. (2014). Encyclopedia of Democratic Thought. Routledge, an Imprint of Taylor & Francis Books.

Philip, G. (2011). Democracy and democratization. University of London International Programmes Publications Office.

Scott, M. (1986). Transitions through Transaction: Democratization in Brazil and Spain. Westview.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-12-28