รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะ เทคโนโลยีสารสนเทศของครู โรงเรียขนาดเล็กสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 5

ผู้แต่ง

  • ภูวดล บุญเกาะ มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตขอนแก่น

คำสำคัญ:

สมรรถนะด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ, ความต้องการจำเป็น

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจําเป็นของสมรรถนะด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของครู 2) ศึกษารูปแบบการพัฒนาสมรรถนะด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของครู 3) ประเมินความเหมาะสม ความเป็นไปได้ของรูปแบบสมรรถนะด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของครู งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงสำรวจ ประชากร กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารและครู ปีการศึกษา 2566 จำนวน 242 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสังเคราะห์เอกสาร และการวิเคราะห์เอกสาร นำข้อมูลที่ได้ไปสร้างแบบสอบถาม

ผลการวิจัยพบว่า

สภาพปัจจุบันโดยรวมอยู่ในระดับมาก สภาพที่พึงประสงค์โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ความจำเป็นของรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับครู มีลำดับดังนี้ 1) การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ (PNI modified = 0.154) 2) การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศถูกต้องตามกฎหมาย คุณธรรม จริยธรรม (PNI modified = 0.153) 3) การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียน การสอน (PNI modified = 0.115) และ 4) การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน (PNI modified = 0.115) ผลการประเมินความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยความเหมาะสมมีค่าเฉลี่ย 3.81 ความเป็นไปได้มีค่าเฉลี่ย 4.79 ความเป็นประโยชน์มีค่าเฉลี่ย 4.88

References

กลัญญู เพชราภรณ์. (2553). คู่มือการจัดระบบการเรียนการสอนที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้. พระนครศรีอยุธยา. โรงพิมพ์เทียนวัฒนา พริ้นติ้ง.

ขวัญฤทัย ดวงทิพย์. (2565). การพัฒนาแนวทางการบริหารจัดการชั้นเรียนยุคใหม่ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 2 [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยศรีปทุม.

ฉวีวรรณ อินชูกุล. (2565). การบริหารจัดการโรงเรียนประถมศึกษาในสถานการณ์ปกติใหม่ [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร]. DSpace at Silpakorn University. http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4259

ชานนท์ คำปิวทา. (2565). รูปแบบการบริหารเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลของครูโรงเรียนมัธยมศึกษา [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยนเรศวร]. NU Intellectual Repository. http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5045

ณัชชา เจริญชนะกิจ และโสมฉาย บุญญานันต์. (2566). การวิจัยประเมินความต้องการจำเป็นในการพัฒนานวัตกรรมเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้สะตีมศึกษาให้กับนิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูระดับประถมศึกษา. วารสารวิจัยวิชาการ, 6(4), 97-114. https://so06.tci-thaijo.org/index.php/jra/article/view/

ณัฐพัชร์ บุญเกต. (2565). การบริหารการจัดการเรียนรู้ในยุคฐานวิถีชีวิตใหม่ของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุโขทัยเขต 2 [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์.

ธีรศักดิ์ สะกล และศิริรัตน์ เพ็ชร์แสงศรี. (2561). การศึกษาสภาพปัจจุบันและปัญหาในการจัดการเรียนการสอนวิชาคอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบโดยใช้ห้องเรียนอัจฉริยะของนิสิตระดับปริญญาตรี. วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม, 17(1), 104-112. https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/JIE/article/view/

นฤมล ทัดสา, วาโร เพ็งสวัสดิ์, และพรเทพ เสถียรนพเก้า (2564). กลยุทธ์การบริหารจัดการชั้นเรียนที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน สำหรับโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารสันติศึกษาปปริทรรศน์ มจร, 10(3), 1344-1357. https://so03.tci-thaijo.org/index.php/journal-peace/article/view/251254

ปุญญิสา เปงยาวงษ์. (2565). ความต้องการจำเป็นในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของครูในศตวรรษที่ 21 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุโขทัย เขต 1. สาขาวิสุริสุริชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร.

พัชราภรณ์ ดวงชื่น. (2563). การบริหารจัดการศึกษารับความปกติใหม่หลังวิกฤตโควิด-19. วารสารศิลปะการจัดการ, 4(3), 783-795. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jam/article/view/243660

พัชราภรณ์ ลีเบาะ, สุชาติ บางวิเศษ และศักดินาภรณ์ นันที. (2564). การพัฒนาแนวทางการบริหารจัดการเรียนรู้สู่ความเป็นเลิศในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเลย หนองบัวลำภู. วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 16(2), 164-177. https://ejournals.swu.ac.th/index.php/jre/article/view/14162

รสสุคนธ์ มกรมณี. (2556). ครูไทยกับ ICT ในประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ประจำปี 2556 เรื่อง การวิจัย เพื่อเพิ่มคุณภาพการศึกษาและ การพัฒนาวิชาชีพ. สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา

ราชกิจจานุเบกษา. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. สำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา

สมาน อัศวภูมิ. (2557). การบริหารสถานศึกษาตามแนวการปฏิรูปการศึกษายุคใหม่. อุบลกิจออฟเซทการพิมพ์.

สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. (2560). ร่างแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2557 – 2559. https://ops.moe.go.th/wp-content/uploads/2017/08/ict-moe-master-plan2557-2559.pdf

อภิชาติ รอดนิยม. (2564). เทคโนโลยีการศึกษากับการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ในยุคใหม่. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 6(9), 123-133. https://so04.tci-thaijo.org/index.php/JSBA/article/view/251294

Eisner, E. (1976). Education Connoisseurship and Criticism: Their Form and Function in Education Evaluation. Journal of Aesthetic Education, 10(3-4), 135-150.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-08-30