การสร้างคุณค่าให้กับผู้บริโภคยุคใหม่ด้วยการตลาดเพื่อสังคม: ความยั่งยืนขององค์กรในยุคโลกาภิวัตน์

Main Article Content

ฐนิชา คงประดิษฐ
ปรีชา คำมาดี

บทคัดย่อ

ในสังคมยุคโลกาภิวัตน์การตลาดได้มีวิวัฒนาการปรับเปลี่ยนไปตามยุคสมัยและตามปัจจัยสภาพแวดล้อมต่างๆ เพื่อให้เหมาะสมกับสภาพทางเศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรม เทคโนโลยี และพฤติกรรมของผู้บริโภคที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาทำให้ธุรกิจจำนวนมากต้องหันมาให้ความสำคัญกับการสร้างคุณค่าให้กับผู้บริโภคมากขึ้น บทบาทของผู้บริโภคจากการเป็นฝ่ายตั้งรับที่มองว่านักการตลาดเป็นผู้สร้างคุณค่าและผู้บริโภคคือผู้รับมอบคุณค่านั้นเปลี่ยนไปเป็นบทบาทของผู้สร้างคุณค่า ซึ่งบทบาทของผู้บริโภคที่เปลี่ยนไปทำให้นักการตลาดจำเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนมุมมองและกลยุทธ์ทางการตลาด เพื่อให้สามารถรู้เท่าทันของการเปลี่ยนแปลงของกระแสตลาด การสร้างคุณค่าให้กับผู้บริโภคยุคใหม่ด้วยการตลาดเพื่อสังคมจึงเป็นวิธีการหนึ่งที่ช่วยผลักดันให้องค์กรเกิดความยั่งยืนสำหรับการรักษาความสัมพันธ์และสร้างคุณค่าให้กับผู้บริโภคท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงของสังคมในยุคโลกาภิวัตน์เนื่องจากการตลาดเพื่อสังคมเป็นการประยุกต์ใช้หลักการ แนวความคิด และเครื่องมือทางการตลาด มาออกแบบ วางแผน ปฏิบัติ ควบคุม และประเมินผลภายใต้มิติของความยั่งยืน 3 ด้าน ได้แก่ ด้านความอยู่รอดทางเศรษฐกิจ ความเสมอภาคทางสังคม และการปกป้องสิ่งแวดล้อม

Article Details

บท
บทความวิชาการ (Academic Article)

References

Armstrong, G. & Kotler, P. (2007). Marketing: An Introduction (8th). New Jersey: Pearson Prentice Hall.
Belz, Frank-Martin & Ken Peattie. (2009). Sustainablility Marketing : A Global Perspective. United Kingdom: John Wiley&Sons, Ltd.
Chaoprasert, C. (2003). Service Marketing. (13th edition). Bangkok: SE-ED Publishing.
Digital Government Development Agency (Public Organization) or DGA. (2017). Thailand Digital Government 2021. Retrieved on 25 July 2019, from : https://www.ega.or.th/en/profile/2035/.
Grundey, Dainora. (2008). Managing Sustainable Tourism in Lithuania: Dream or Reality. Technological and Economic Development, 14(2), 118-129.
Jamrozy, Ute. (2007). Marketing of Tourism : A Paradigm Shift toward Sustainability. Marketing of Tourism. 1(2), 117-130.
Kananuruk, N.(2011). Leadership Role for Producing Professional Employees. University of the Thai Chamber of Commerce Journal, 31(1), 123-133.
Kumar, Vinod, Zillur Rahman, A.A. Kazmi & Praveen Goyal.(2012). Evolution of Sustainability as Marketing Strategy : Beginning of New Era. Social and Behavioral Scirnces, 37(1), 482-489.
Pongsakornrungsilp, S. (2014). Value Co-Creation: New Marketing Paradigm in the Era of Social Network. Songklanakarin Journal of Social Sciences and Humanities (Social Sciences and Humanities Edition), 20(3), 163-185.
Suksomwat, P. (2013). The perceived value that affects customer loyalty in using gas installation cars in Nakhon Ratchasima province. Retrieved 22 July 2019. from:https://www.narinet.in.th:8080/xmlui/handle/ 123456789/290
Serirat, S. (2009). Modern Marketing Management. Bangkok: Diamond in Business World.
Triphob, P. (2005). Prachachat Business. 29 (3753). Retrieved on 20 July 2019. from : https://www.nidambe11.net/ekonomiz/2005q4/.htm
Yodpruetikari, P. (2012). 6 Directions for CSR. Bangkok Online Business. Retrieved on July 20, 2019, from: https://www.bangkokbiznews.com/home/detail/pipat