แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตมนุษย์ตามหลักการพุทธศาสนา
คำสำคัญ:
แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตมนุษย์บทคัดย่อ
บทความเรื่องนี้มีเนื้อหาสาระที่สัมพันธ์กันระหว่างมนุษย์และสิ่งแวดล้อมต่างๆ โดยมีเป้าหมายหลัก คือ เพื่อต้องการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของมนุษย์ให้มีคุณภาพชีวิตดียิ่งขึ้น โดยใช้ แนวทางการพัฒนาในพุทธศาสนา กล่าวคือ เพื่อทำให้เจริญ หรือให้มีขึ้น การฝึกอบรม โดยมีแนวทางในการพัฒนา 4 ประการ คือ
1. กายภาวนา คือ การพัฒนากาย การฝึกอบรมกาย ให้รู้จักปฏิบัติต่ออินทรีย์ทั้งห้ำในทำงานที่เป็นคุณ และพัฒนาความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
2. ศีลภาวนา คือ การพัฒนาความประพฤติ การฝึกอบรมศีล ให้ตั้งอยู่ในระเบียบวินัยไม่เบียดเบียน หรือก่อความเดือดร้อนเสียหาย อยู่ร่วมกันกับผู้อื่นได้ด้วยดีเกื้อกูลแก่กัน
3. จิตตภาวนา คือ การพัฒนาจิต การฝึกอบรมจิตใจ ให้เข็มแข็งมั่นคงเจริญงอกงามด้วยคุณธรรมทั้งหลาย
4. ปัญญาภาวนา คือ การพัฒนาปัญญา การฝึกอบรมปัญญา ให้รู้เข้าใจสิ่งทั้งหลายตามเป็นจริง รู้เท่าทันเห็นแจ้งโลกและชีวิตตามสภาวะ ทำตนให้บริสุทธิ์จากกิเลส และแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้ด้วยปัญญา
References
Mahachulalongkornrajavidyalaya University.
Phra Brahmagunabhorn (P. A. Payutto). (2005). Nature of Dhamma Leading to Vision (Wisai Dham Phue Nam Su Wisaitat). Bangkok : Phimsuay Co., Ltd.
Phra Dhamkosacharn (Panyananda Bhikkhu). (2000). Mindfulness : Dhamma for Life Problem Solution. Bangkok : Dhammasabha Press.
Phra Dhamkosacharn (Buddhadasa Bhikkhu). (2001). Applied Enlightenment Virtues (Bodhipakkhiya Dhamma Prayuk). Surat Thani : Dhammadana Foundation.
______. (2010). Principles and Procedures on Giving, Precepts and Develoment. Bangkok: The Agricultural Co-operative Federation of Thailand Printing Press.
______. (2006). Right View (Samma Ditthi). Bangkok : Dhammasabha Press.
______. (2005. Navakanusat 1. 2nded. Surat Thani :Dhammadana Foundation.
Phra Virachon (Chatchawarn). (2012). Analytical Study of the Consumption of Four Requisites to Support Dhamma Realisation in Theravada Buddhism. Thesis for the Master Degree (Buddhist Studies). Ayudhya : Graduate School, Mahachulalongkornrajavidyalaya University.
Phra Thani Khemadhammo (Champa). (2007). A study of tight livelihood in buddhism. Thesis for the Master Degree (Buddhist Studies). Ayudhya: Graduate School, Mahachulalongkornrajavidyalaya University.