ศักติ ศักตะ: พลังอำนาจ

ผู้แต่ง

  • จรัส ลีกา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น
  • สุมิตรา ไอยรา มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
  • ดาริกาญจน์ วิชาเดช มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

คำสำคัญ:

ศักตะ, ศักติ, พลังอำนาจ

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอถึงพลังอำนาจของศักติและศักตะ พบว่า พลังศักติเป็นพลังของอิตถีเพศหรือเทวี ประกอบด้วย พระแม่สรัสสวดี พระแม่ลักษมี และพระแม่อุมา ส่วนพลังศักตะเป็นพลังของบุรุษเพศหมายถึงมหาเทพ 3 พระองค์ (ตรีมูรติ) ได้แก่ พระพรหม มีพระสรัสวดีเป็นศักติ พระวิษณุ มีพระลักษมีเป็นศักติ และพระศิวะมีพระอุมาหรือพระแม่กาลีเป็นศักติ และพลังศักติ และศักตะนี้จะแฝงอยู่ในตัวมนุษย์ทุกคน พลังอำนาจที่เป็นบุรุษเพศจะมีความแข็งแรง กล้าหาญ อดทน และพลังอำนาจที่เป็นอิตถีเพศจะมีความอ่อนหวาน นุ่มนวล รักสวยรักงาม ขี้อาย พลังอำนาจทั้งสองนี้จะนำไปสู่ความสมดุลและความสมบูรณ์ของโลก

References

กรุณา-เรืองอุไร กุศลาสัย. (2550). ภารตวิทยา. (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: ศยาม.

ก่องแก้ว วีระประจักษ์. (2548). ภาพสัญลักษณ์โอม. ศิลปากร, 48(2), 108-109.

จำนงค์ ทองประเสริฐ. (2539). ปรัชญาประยุกต์ชุดอินเดีย. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ต้นอ้อ แกรมมี่จำกัด.

ณัฎฐจิตต์ เลาห์วีระ. (2548). ศักติในพุทธตรันตระ. พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

ไทยรัฐ. (2547). สกุ๊ปหน้า 1 สี่แยกราชประสงค์สี่แยกห้าเทพเจ้า. กรุงเทพฯ: ไทยรัฐ.

นักรบ นาคสุวรรณ์. (2562). พระแม่พหุชระ เทพผู้คุ้มครองความหลากหลายทางเพศ. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยดุสิตธานี.

พรหมศักดิ์ เจิมสวัสดิ์. (2523). คนกับพระเจ้า. กรุงเทพฯ: กรุงสยาม.

พระยาอนุมานราชธน (เสฐียรโกเศศ). (2507). ลัทธิของเพื่อน ฉบับสมบูรณ์. พระนครศรีอยุธยา: ก้าวหน้า.

มนต์ ทองชัช. (2530). 4 ศาสนาสำคัญของโลกปัจจุบัน: พราหมณ์-ฮินดู พุทธ คริสต์ และอิสลาม. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2542). พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากลอังกฤษ-ไทย. กรุงเทพฯ: อรุณการพิมพ์.

สุมาลี มหณรงค์ชัย. (2546). ฮินดู-พุทธ จุดยืนที่แตกต่าง. กรุงเทพฯ: สุขภาพใจ.

เสถียร พันธรังสี. (2542). ศาสนาเปรียบเทียบ. (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: สุขภาพใจ.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-30

ฉบับ

บท

บทความวิชาการ (Academic Article)