คนไทยกับเทคโนโลยี
คำสำคัญ:
คนไทย, เทคโนโลยีบทคัดย่อ
บทวิจารณ์หนังสือนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอหนังสือ “คนไทยกับเทคโนโลยี” โดย พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต) เขียนขึ้นมาเพื่ออธิบาย เปรียบเทียบ คนไทยกับเทคโนโลยีว่าเป็นอุปกรณ์อำนวยความสะดวก ด้วยเหตุนี้ไทยจึงเป็นประเทศผู้บริโภคเทคโนโลยี ไม่ใช่ประเทศผู้ผลิตจนกลายเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้คนไทยอ่อนแอ กลายเป็นการเสพเทคโนโลยีที่สร้างค่านิยมใหม่ในสังคมไทย จนเกิดการตั้งคำถามหรือประเด็นต่าง ๆ ที่สร้างแรงกระตุ้นให้เกิดแนวคิดในการนำมาใช้ประโยชน์ในการพัฒนาตนเอง สร้างความเข้าใจในการใช้เทคโนโลยี มีความอุตสาหะในการพัฒนาบุคลากรแบบยั่งยืนตามแนวทางและหลักพุทธศาสนา
References
ธรรมทัช ทองอร่าม. (2564). ไทยต้องเร่งเปลี่ยนผ่านจากผู้ใช้เทคโนโลยีเป็นผู้นำเทคโนโลยี. เข้าถึงได้จาก https://www.thansettakij.com/money_market/483595
ปัทมาวดี โพชนุกุล. (2564). วิทยาศาสตร์ นวัตกรรม และสังคมไทย ต้องไปด้วยกัน. เข้าถึงได้จาก https://www.tsri.or.th/th/news/content/587/วิทยาศาสตร์-นวัตกรรม-และสังคมไทย-ต้องไปด้วยกัน
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2540). คนไทยกับเทคโนโลยี. เข้าถึงได้จาก https://www.watnyanaves.net/th/book_detail/72
พระไพศาล วิสาโล. (2552). เทคโนโลยีในทัศนะของพุทธศาสนา. เข้าถึงได้จาก https://www.visalo.org/columInterview/Chip10.htm
_______. (2552). วิถีพุทธวิธีไทในยุคบริโภคนิยม. เข้าถึงได้จาก https://visalo.org/article/budVitheeBudVitheeThai.htm
Fareed Zakaria. (2564). บทเรียนเพื่อโลกหลังการระบาด [Ten Lessons for a Post-Pandemic World] (วิภัชภาค, ผู้แปล). กรุงเทพฯ: มติชน.