MOOCs นวัตกรรมการศึกษาแบบเปิดเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตของผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษ

ผู้แต่ง

  • ฐิติยา เนตรวงษ์
  • บรรพต พิจิตรกำเนิด
  • ทินกร ชุณหภัทรกุล

คำสำคัญ:

MOOCs; การศึกษาแบบเปิด; การเรียนรู้ตลอดชีวิต; ผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษ

บทคัดย่อ

บทความนี้นำเสนอหลักสำคัญของ การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ระบบเปิดสู่มวลชน (MOOCs)  เพื่อตอบสนองความต้องการการเรียนแบบกลุ่มใหญ่ที่ให้อิสระในการเลือกเรียนในเนื้อหาหรือรายวิชาที่ตนเองสนใจ  ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงความสำคัญของการเรียนรู้ตลอดชีวิต การออกแบบ MOOCs สำหรับผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษจะต้องคำนึงถึงผลการเรียนรู้ การออกแบบโครงสร้างเนื้อหา รูปแบบสื่อ กิจกรรมการเรียนรู้ และการประเมินผล ที่เหมาะสมกับผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษ หรือบริการพิเศษอื่น ๆ ที่จำเป็น ความท้าทายทางนวัตกรรมการศึกษาคือการตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกที่มาพร้อมกับเทคโนโลยีเปลี่ยนโลก โดยการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างต่อเนื่อง เติมเต็มชีวิตการทำงานเชิงบวกในการพัฒนาวิชาชีพตน

Downloads

Download data is not yet available.

References

ชโรชีนีย์ ชัยมินทร์. (2562). MOOC: เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตในศตวรรษที่ 21. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่. ปีที่ 1 ฉบับที่ 1, 46-69.

ฐิติยา เนตรวงษ์. (2561). ห้องเรียนดิจิทัลเพื่อการเรียนร่วมและพัฒนาทักษะการอยู่รอดในยุคดิจิทัล. วารสารพัฒนาเทคนิคศึกษา. ปีที่ 31 ฉบับที่ 108, ตุลาคม-ธันวาคม, 15-24.

ณฐภัทร ติณเวส และ ฐาปนีย์ ธรรมเมธา. (2560). การศึกษารูปแบบการจัดการศึกษาออนไลน์ระบบเปิดแบบ MOOC ของอุดมศึกษาไทย. วารสารเซนต์จอห์น. ปีที่ 20 ฉบับที่ 26, 122-138.

ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ และเสมอกาญจน์ โสภณหิรัญรักษ์. (2560). มาตรฐานและแนวปฏิบัติการเรียนการสอน MOOC ที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ. กรุงเทพฯ: โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.

สิริกัญญา มณีนิล และศศิฉาย ธนะมัย. (2563). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์แบบเปิดตามแนวคิดการเรียนรู้ร่วมกันสำหรับผู้เรียนกลุ่มใหญ่ที่มีลีลาการเรียนรู้แตกต่างกัน. วารสารศึกษาศาสตร์ มสธ. ปีที่ 13 ฉบับที่ 1, 15-29.

สุภาณี ทัพขวา. (2561). การศึกษากิจกรรมการเรียนการสอนและพฤติกรรมการเรียนใน Thai MOOC. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร.

สำนักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ และสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม. (2562). นโยบายและยุทธศาสตร์การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๗๐ และแผนด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๕. กรุงเทพฯ: กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม.

Ates, H & Alsal, K. (2012). The importance of lifelong learning has been increasing. Procedia-Social and Behavioral Sciences. Vol 46 No. 2012, pp. 4092-4096.

Collins, F. (2009). Education Techniques for Lifelong Learning. RadioGraphics. Vol 29 No. 2, pp. 613-622.

CHULA MOOC. (2563). สืบค้นเมื่อ 15 สิงหาคม 2563, จาก https://mooc.chula.ac.th/.

Jasnani, P. (2013). Designing MOOCs: A White Paper on Instructional Design for MOOCs. TATA Interactive Systems.

Shapiroa, H. B. et al. (2017). Understanding the massive open online course (MOOC) student experience: An examination of attitudes, motivations, and barriers. Computers & Education. Vol 110 No. 2017, pp. 35-50.

Thai MOOC. (2563). Thai MOOC การศึกษาแบบเปิดเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต. สืบค้นเมื่อ 15 สิงหาคม 2563, จาก http://mooc.thaicyberu.go.th/

Wiman, R. (2012). Mainstreaming the Disability Dimension in Development Cooperation Case Finland-Lessons Learned. Retrieve 2020, April 13. From http://www.stm.fi/en/publications/publication/_julkaisu/1071555.

เผยแพร่แล้ว

2022-02-01